BSRU Animation STUDIOS

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

การใส่ลูกเล่นให้กับงานนำเสนอ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
ผู้แต่ง : Andy Wyatt พิมพ์ที่ ประเทศอังกฤษ โดย บริษัท Thames&Hudson Ltd.
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
กลุ่ม L.O.Y..
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
สื่อคุณค่าพระวรสาร กราฟิกเบื้องต้น วิชาคอมพิวเตอร์ ม.1.
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
การเขียนผังงาน.
ยินดีต้อนรับสู่ Visual Art Online
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
รูปร่างและรูปทรง.
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสื่อประสม
คู่มือการใช้งาน P OWER P OINT 2007 ฉบับนักเรียน.
และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
Chapter 4 : Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การสร้างงานกราฟิก.
การเขียนเครื่องเรือนลอยตัว
ปากกาแสง (Light Pen) นางสาวพัชรินทร์ จันทร์เขียว
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
วัสดุไม่ตีพิมพ์.
การแบ่งประเภทของสื่อ
ง30216 การสร้างเกมคอมพิวเตอร์
บทที่ 8 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ
วิวัฒนาการประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิกส์
Computer Graphics Image Processing 1.
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
Background / Story Board / Character
Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างภาพเคลื่อนไหว
ประเภทของแอนิเมชั่นใน Flash
บทที่ 2 เริ่มต้นใช้งาน Flash
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
การจัดองค์ประกอบของภาพ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วย
ความหมายของแอนิเมชัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
การถ่ายวีดีโอ.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
เทคนิคการถ่ายภาพ.
การเคลื่อนไหวของกล้อง
บทที่8 การเขียน Storyboard.
Object Oriented Programming : OOP
องค์ประกอบของบทละคร.
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
อนิเมชั่น Animation สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
เทคนิคการเปลี่ยนภาพ โดยใช้อุปกรณ์ตัดต่อ วีดีทัศน์.
อนิเมชั่น Animation ดร.สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
เทคนิคการใช้ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
โลกเสมือนจริง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
บทที่ 9 แอนิเมชั่น Animation อ.ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

BSRU Animation STUDIOS Stop Motion BSRU Animation STUDIOS

Stop Motion Stop Motion คือการทำภาพเคลื่อนไหว(Animation) ที่สร้างจากวัตถุจริงได้แก่ ภาพวาด สิ่งของ คน ตุ๊กตา หรือวัตถุอื่นๆที่จับต้องได้ โดย ทำการจัดท่าทางของวัตถุให้เป็นภาพที่ต่อเนื่องกันครั้งละ 1 เฟรมและทำการถ่ายหรือสแกนภาพนั้นๆทีละ 1 ภาพ เมื่อภาพเหล่านี้ถูกนำมาจัดเรียงกัน จะเกิดเป็นภาพเคลื่อนไหวที่มีความต่อเนื่อง

ประมวลผลภาพต่อเนื่อง Stop Motion Process จัดท่าทาง ถ่ายภาพ จัดเรียง ประมวลผลภาพต่อเนื่อง

Stop Motion สรุปแบบสั้นๆตรงตามความหมายของ Stop Motion ก็คือ การหยุด(stop)ท่าทางของวัตถุเพื่อเก็บภาพ และนำภาพเหล่านั้นมาจัดเรียงกันให้วัตถุในภาพมีการเคลื่อนที่(motion)เป็นภาพที่ต่อเนื่อง

ประเภทของ Stop Motion Stop Motion มีหลายประเภท โดยมากจะแบ่งตามประเภทของวัตถุที่นำมาใช้ในการสร้างผลงาน

ประเภทของ Stop Motion Puppet Animation Puppetoon Clay Animation หรือ Plasticine Cutout Animation Silhouette Animation Model Animation Go Motion

ประเภทของ Stop Motion Object Animation Graphic Animation Brickfilm Pixilation Flip Book Drawing Stop Motion

Puppet Animation เป็น Stop Motion ที่สร้างจากหุ่นที่มีข้อต่อตามร่างกายเหมือนคน สัตว์ สิ่งมีชีวิต หรืออุปกรณ์ที่มีข้อต่อ ข้อเหวี่ยงต่างๆ เปรียบเสมือนกับหุ่นกระบอกที่มีข้อต่อภายในตัวหุ่น ในการสร้างจะขยับข้อต่อของหุ่นเพื่อเปลี่ยนท่าทาง และเปลี่ยนตำแหน่งการวางแล้วทำการถ่ายภาพ

Puppet Animation The tale of the fox(France, 2009) The Nightmare Before Christmas(US, 1993) Corpse Bride(US, 2005) Coraline(US, 2009)

Puppetoon เป็น Stop Motion ที่สร้างจากหุ่นที่มีข้อต่อตามร่างกายเหมือนคน สัตว์ สิ่งมีชีวิต หรืออุปกรณ์ที่มีข้อต่อ ข้อเหวี่ยงต่างๆ เปรียบเสมือนกับหุ่นกระบอกที่มีข้อต่อภายในตัวหุ่น ในการสร้างจะขยับข้อต่อของหุ่นเพื่อเปลี่ยนท่าทาง และเปลี่ยนตำแหน่งการวางแล้วทำการถ่ายภาพ

Clay Animation หรือ Plasticine มีความคล้ายคลึงกับ Puppet Animation และ Puppetoon เพียงแต่วัสดุที่ใช้ทำตัวละครจะทำจากดินเหนียว ขี้ผึ้งหรือวัสดุที่มีลักษณะคล้ายๆกัน โครงสร้างด้านในจะเป็นโครงลวดเพื่อการดัดท่าทางของหุ่น

Cutout Animation เกิดจากการขยับวัตถุ 2D มิติ ที่ทำจากวัสดุเป็นแผ่น เช่น กระดาษ หรือผ้า ตัดเป็นรูปร่างและตกแต่งเป็นรูปต่างๆ

Silhouette Animation เป็น Stop Motion ประเภทหนึ่งที่มีความคล้ายกับ Cutout Animation เพียงแต่รูปที่ออกมาจะเห็นเป็นโครงกรอบนอกของวัตถุที่มีลักษณะทึบเหมือนเงา ตัวอย่างของ Silhouette Animation ได้แก่เรื่อง The Adventures of Prince Achmed

Model Animation คือ Stop Motion ที่สร้างขึ้นจากหุ่นจำลองตัวละคร แล้วนำมาขยับเพื่อสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Stop Motion จากนั้นใช้เทคนิคการซ้อนภาพเคลื่อนไหวเข้ากับฉาก คน หรือตัวลรครจริง ตัวอย่างของ Model Animation ได้แก่ ภาพยนตร์เรื่อง King Kong(1933, Willis O’Brien)

Go Motion จัดเป็น Model Animation ประเภทหนึ่งซึ่งใช้เทคนิค Motion Blur ระหว่างเฟรมหลายๆเฟรม ซึ่งไม่ได้เป็นแอนิเมชั่นแบบดั้งเดิม แต่เป็นเทคนิคที่เกิดขึ้นในยุค 80 โดย บริษัทอุตสาหกรรม Light & Magic และ Phil Tippett ได้สร้างเทคนิคพิเศษนี้ในฉากภาพยนตร์เรื่อง Empire Strikes Back (1980)

Go Motion Empire Strikes Back (1980) ตัวละครมังกรที่มีชื่อว่า Vermithrax จากภาพยนตร์เรื่อง Dragonslayer (1981)

Object Animation เป็นการสร้าง Animation จากวัตถุที่ไม่มีชีวิต เช่น ตุ๊กตา กล่อง ลูกบอล ฯลฯ หรือ วัตถุที่สร้างขึ้นเป็นพิเศษ

Graphic Animation เป็น Stop Motion ที่เกิดจากภาพถ่าย(ไม่ใช่ภาพที่เกิดจากการวาด) หนังสือพิมพ์ หรือวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ เช่นนิตยสาร คลิปหนีบกระดาษ เครื่องเขียนฯลฯ ซึ่งจะถ่ายเป็นภาพนิ่งทีละเฟรม แล้วนำมาเรียงต่อกันเป็นภาพเคลื่อนไหว

Brickfilm เป็นการสร้างงานจากชิ้นส่อนที่มีลักษณะเป็นบล็อก เช่นตัวต่อLego หรือชิ้นส่วนที่มีลักษณะเดียวกัน โดยมีจุดเริ่มต้นจากการเผยแพร่ใน Youtube ซึ่งต่อมามีคนทำตามและเผยแพร่ต่อๆกัน เนื่องจากใช้วัสดุที่หาง่าย ขั้นตอนการทำไม่ซับซ้อน ซอฟแวร์และกล้องที่ใช้ส่วนมากจะราคาไม่แพง

Pixilation เป็น Stop Motion ที่ใช้คนจริงมาจัดท่าทางเพื่อเก็บภาพทีละเฟรม สามารถนำโมเดลอื่นๆมาแสดงร่วมด้วย ซึ่งสามารถทำได้ง่าย และมีการเคลื่อนไหวที่กลมกลืนสอดคล้องกัน ตัวอย่างได้แก่ The Secret Adventures of Tom Thumb.

Flip Book เป็น Stop Motion ที่ทำง่ายที่สุด และใช้อุปกรณ์น้อยมาก นั่นคือการวาดภาพลงบนริมสมุดทีละหน้า โดยภาพจะมีความต่อเนื่องกันเหมือนการทำการ์ตูน2D เมื่อทำการเปิดหน้ากระดาษด้วยความเร็วต่อเนื่องกันจะเกิดเป็นภาพเคลื่อนไหว

Drawing Stop Motion สร้างจากการวาดภาพเป็นเรื่องราวต่อเนื่องกัน ส่วนมากมักจะวาดบน White Board โดยการวาดภาพต่อเนื่องแล้วถ่ายรูปทีละเฟรม เป็นการวาดแล้วลบ เพื่อให้เกิดการเคลื่อนไหวที่ดูมีความเปลี่ยนแปลง และมีการเพิ่มขนาดหรือเจริญเติบโต มีลักษณะคล้ายกับ Flip Book