เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
Advertisements

หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
กลุ่มที่ 2.
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Service Plan สาขา NCD.
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คุณภาพคือคำตอบสุดท้าย
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
Thailand Research Expo
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การดูแลผู้ป่วยเบาหวานครบวงจร ศูนย์แพทย์ชุมชนมะค่า
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
การป้องกันภาวะไตวาย ประกอบด้วย 2 โครงการ 1. โครงการป้องกันภาวะไตวาย จ
ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย
นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การป้องกันควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น1 การประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2552.
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการดำเนินงาน และผลงานเด่น/ นวัตกรรม SP สาขาโรคไต
1.CKD clinic : คลินิกชะลอไตเสื่อม
โดย เสาวลักษณ์ สัจจา กลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.หนองคาย
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
End of life care ช่วงสุดท้ายของชีวิต
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพจังหวัดปทุมธานี
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
นพ.ธนชัย พนาพุฒิ อายุรแพทย์โรคไต รพ.ขอนแก่น 14 พย. 2557
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ภญ. นีลนาถ เจ๊ะยอ รพ. หนองจิก จ. ปัตตานี. ที่มาของ การพัฒนา.
ภาวะแทรกช้อน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นพ.อำพล เวหะชาติ
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี
คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
ศูนย์การเรียนรู้ (KM) Knowledge Management. ครั้งที่ 1 วันที่ 22 ตุลาคม 2553 เวลา น. – น. ณ. ห้องประชุมปทุมเทวาภิบาล โรงพยาบาลหนองคาย โครงการประชุมวิชาการเพื่อ.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ผศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
การพยาบาลเฉพาะทาง สาขา การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็ง
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 1 กรกฎาคม 2553

บทบาทพยาบาล การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังแต่ละระยะ การดูแลผู้ป่วยเพื่อชะลอไตเสื่อม การเตรียมผู้ป่วยเข้ารักษาด้วย RRT - ยา - โภชนบำบัดและปรับวิถีชีวิต การดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องจากโรงพยาบาลและที่บ้าน

การประเมินการทำงานของไต ผู้ป่วยที่มี GFR< 90 มล./นาที/1.73 ตรม. ถือว่า “เริ่มมีไตเสื่อม” (CKD ระยะที่ 2) ผู้ป่วยที่มี GFR<60 มล./นาที/1.73 ตรม. หรือมี serum Creatinine >1.4 มก./ดล.ในผู้ป่วยกลุ่มาสี่ยงอื่นๆ >1.2 มก./ดล.ในผู้ป่วยเบาหวาน ถือว่า “มีไตเสื่อมชัดเจน” (CKD ระยะที่ 3)

การแบ่งระยะโรคไตเรื้อรัง คำจำกัดความ GFR (มล./นาที/1.73 ตรม.) ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไตเรื้อรัง 90 (ร่วมกับปัจจัยเสี่ยง) 1 ไตผิดปกติและ GFR ปกติหรือเพิ่มขึ้น 90 2 ไตผิดปกติและ GFR ลดลงเล็กน้อย 60-89 3 GFR ลดลงปานกลาง 30-59 4 GFR ลดลงมาก 15-29 5 ไตวายระยะสุดท้าย <15 (หรือต้องล้างไต)

การปรึกษาและส่งผู้ป่วยพบแพทย์โรคไต เมื่อ ผู้ป่วยมี Serum Creatinine >2 มก./ดลหรือ ผู้ป่วยมีภาวะที่แพทย์ไม่สามารถตรวจวินิจฉัยหรือรักษาได้เอง หรืออาการของผู้ป่วยไม่ดีขึ้น โดยเฉพาะเมื่อไม่สามารถชะลอการเสื่อมของไตได้ ข้อแนะนะสากลให้ส่งเมื่อ GFR<30 มล./นาที/1.73 ตรม. แต่ประเทศไทยมีแพทย์จำกัด จึงใช้ค่าดังกล่าว

แพทย์โรคไตได้ตรวจแล้ว ดำเนินการต่อไปนี้ ส่งผู้ป่วยกลับไปได้ แพทย์ดูแลต่อโดยต้องมีคำแนะนำในแนวทางและแผนการรักษาให้ด้วย แพทย์โรคไตจะต้องให้ความร่วมมือในการให้คำแนะนำแก่แพทย์ในกรณีที่แพทย์ขอความเห็นหรือคำแนะนำ

การให้ความรู้และคำแนะนำแก่ผู้ป่วยและครอบครัว ตั้งแต่เริ่มพบว่าเป็นโรคไตเรื้อรัง ควรได้รับคำแนะนำต่อเนื่องเป็นระยะ ๆ ควรได้รับความรู้ครอบคลุมโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่ การดำเนินของโรคไตเรื้อรัง การดูแลตนเองแบบบูรณาการทั้งร่างกายและจิตใจ ควรแจ้งเรื่องทางเลือกในการบำบัดทดแทนไต ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัวได้เข้าใจ และเตรียมตัวเตรียมใจ และดูแลตนเองอย่างบูรณาการ

หลักและเป้าหมายของการดูแลทั่วไปเพื่อชะลอการเสื่อมของไต ผู้ป่วยควรได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสม ประกอบด้วยการดูแลรักษา และควบคุม โรคพื้นฐานของผู้ป่วย เช่น เบาหวาน นิ่ว เป็นต้น ความดันโลหิต ปรับการรับประทานอาหาร (โปรตีน ไขมัน โซเดียม โปแตสเซียม ฯลฯ) หลีกเลี่ยงเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ และงดบุหรี่ การปรับวิถีชีวิต เช่น ออกกำลังกาย ลดน้ำหนัก ลดความเครียด

ผู้ป่วยควรได้รับการรักษาโดยมีเป้าหมายของการรักษา ดังนี้ ให้ผู้ป่วยมีอาการและอาการแสดงจากโรคต้นเหตุ ภาวะแทรกซ้อนและให้มีอัตราการเสื่อมของไตน้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ ระดับเกลือแร่และภาวะกรดด่างในเลือดให้อยู่ในพิสัยปกติทั้งนี้เป็นการดูแลภาวะแทรกซ้อนจากภาวะไตเสื่อมด้วยการ 1. ควบคุมรับประทานเกลือ 2. การจำกัดปริมาณน้ำดื่ม 3. การจำกัดอาหารที่มีโปรแตสเซียม

ผู้ป่วยควรได้รับการดูแล Serum Calcium และ Phosphate ให้อยู่ในพิสัยปกติ Serum albumin ไม่ต่ำกว่า 3.5 กรัม/ดล. (โดยไม่มีภาวะทุโภชนาการ) Serum uric acid ไม่มีระดับตัวเลขเป้าหมายที่เหมาะสมแต่ผู้ป่วยไม่ควรมีอาการใด ๆ Hematocrit ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 33-36 หรือ Hemoglobin ไม่ต่ำกว่า 11-12 กรัม/ดล.

คำแนะนำผู้ป่วยและครอบครัวเตรียมตัวเพื่อการบำบัดทดแทนไต เมื่อเริ่มเข้าสู่โรคไตเรื้อรังระยะ 4 ที่แสดงอาการของยูรีเมียแล้ว การเลือกวิธีการรักษาทดแทนไตที่เหมาะสม การเตรียมหลอดเลือด หรือการล้างของเสียทางช่องท้อง การดูแลตนเองก่อนและระหว่างการรักษาทดแทนไต ผู้ป่วยที่เริ่มรักษาบำบัดทดแทนไต ควรอยู่ในความดูแลหรือร่วมดูแลของแพทย์โรคไต

การดูแลผู้ป่วยโรคไตจากเบาหวาน เพื่อชะลอการเสื่อมของไต 1. การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด : มีเป้าหมายดังนี้ - FBS 90-130 มก./ดล. - HbA,C<7.0% ในผู้ป่วยที่ควบคุมน้ำตาลได้ดีควรตรวจ HbA,C อย่างน้อยทุก 6 เดือน ในผู้ป่วยที่ควบคุมน้ำตาลได้ไม่ดีควรตรวจ HbA,C อย่างน้อยทุก 3 เดือน ยาที่ใช้ควรเป็น Insulin ยากินมักจะขับออกทางไต

การดูแลผู้ป่วยโรคไตจากเบาหวาน เพื่อชะลอการเสื่อมของไต (ต่อ) 2. การควบคุมความดันโลหิตในผู้ป่วยเบาหวาน BP<130/80 mmHg BP=110-129/65-79 mmHg (ผู้ป่วยตั้งครรภ์) 3. การควบคุมความดันโลหิต BP>140/90 mmHg ต้องได้รับการปรับวิถีชีวิตร่วมกับยาลดความดันโลหิต

การดูแลผู้ป่วยโรคไตจากเบาหวาน เพื่อชะลอการเสื่อมของไต (ต่อ) 4. ผู้ป่วยที่มี BP 130-139/80-90 mmHg ควรได้รับการปรับวิถีชีวิตก่อน หลังจากนั้นอีก 3 เดือน ถ้าพบว่าความดันโลหิตไม่ลดตามเป้าหมาย ควรได้รับยาลดความดันโลหิต เพื่อให้ได้ตามเป้าหมาย 5. ผู้ป่วยสูงอายุควรลดความดันโลหิตลงช้า ๆ จนถึงเป้าหมาย

ผู้ป่วยเบาหวานที่สามารถลดความดัน โลหิตได้ (<130/80 mmHg) สามารถลดอัตราการเกิดโรคหัวใจ หลอดเลือดสมองและโรคไตจาก เบาหวาน

แหล่งข้อมูล การคำนวณค่าอัตราการกรองของไต (ทางอินเตอร์เนต) Nephromatic intelligent renal caluculators

จบการนำเสนอ ขอบคุณ