งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย เสาวลักษณ์ สัจจา กลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.หนองคาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย เสาวลักษณ์ สัจจา กลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.หนองคาย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย เสาวลักษณ์ สัจจา กลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.หนองคาย
บทบาท ศสม./รพ.สต. โดย เสาวลักษณ์ สัจจา กลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.หนองคาย

2 บทบาท ศสม./รพ.สต. คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต ในผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง คืนข้อมูลให้กับพื้นที่ ให้ได้รับทราบสถานการณ์ วางแผน/โครงการ จัดค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อชะลอภาวะแทรกซ้อนทางไต KM แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อช่วยสนับสนุนการจัดการดูแลตนเอง ผลการดำเนินงาน - เชิงปริมาณ - เชิงคุณภาพ

3 บทบาท ศสม./รพ.สต.

4 “นวัตกรรมสื่อการสอน” ใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินระยะไตเสื่อม 5 Stage
1. โมเดลเปรียบเทียบระยะไตเสื่อมกับเมล็ดผลทับทิม 2. โมเดลเปรียบเทียบระยะไตเสื่อมกับค่าเงินบาท ใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินระยะไตเสื่อม 5 Stage

5 ผลลัพธ์ที่ได้จากนวัตกรรม
ผลลัพธ์ทางด้านพฤติกรรม รูปแบบการจัดการตนเอง เข็มไมล์ชีวิต ชมรมจิตอาสา เครือข่ายที่ช่วยส่งเสริมในการจัดการตนเอง

6 จำนวน(คน) ร้อยละ ก่อน หลัง
ตารางที่ 1 แสดงจำนวนและร้อยละของผู้ป่วยไต CKD จำแนกตามระดับความรู้ก่อน-หลัง (N=50 คน) ระดับความรู้ จำนวน(คน) ร้อยละ ก่อน หลัง ต่ำ ( คะแนน ) 13 26 ปานกลาง ( คะแนน ) 30 6 60 12 สูง ( คะแนน ) 7 44 14 88 รวม 50 100

7 ตารางที่ 2 ผลลัพธ์ของผู้ป่วย CKD ตามทฤษฎี HBM ก่อน-หลัง (N=50 คน)
ผลลัพธ์ผู้ป่วย ค่าเฉลี่ย SD t-test p-value แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ การรับรู้โอกาสเสี่ยง ก่อนได้รับโปรแกรม 16.64 2.33 50.55 <0.001 ภายหลังได้รับโปรแกรม การรับรู้ความรุนแรง การรับรู้อุปสรรค การรับรู้ประโยชน์ 20.16 14.74 17.67 10.72 13.64 11.15 14.66 1.96 1.73 1.04 1.44 1.57 1.69 0.89 60.05 52.52 48.30

8 ตารางที่ 2 ผลลัพธ์ของผู้ป่วย CKD ตามทฤษฎีพฤติกรรมก่อน-หลัง
(N=50 คน)(ต่อ) ผลลัพธ์ผู้ป่วย ค่าเฉลี่ย SD t-test p-value การสนับสนุนทางสังคม ก่อนได้รับโปรแกรม 18.94 1.27 105.59 <0.001 ภายหลังได้รับโปรแกรม การดูแลตนเอง 20.58 0.98 35.94 2.59 98.10 44.22 2.00

9 การนำเสนอข้อมูลประกอบการตัดสินใจ สถานการณ์ไตเรื้อรัง จาก DM/HT ชุมชนบ่อหิน
ลำดับ ความหมาย ไตปกติ = 23 คน มีเงินมากกว่า บาท 1 ไตเริ่มผิดปกติหรือปกติ หมายถึง ไตก็ทำงานได้ปกติ มีเงินอยู่ บาท = 24 คน 2 ไตเริ่มเสื่อม หมายถึงผู้ป่วยมีเงิน บาท = 90 คน 3 ไตเสื่อม หมายถึง ผู้ป่วยมีเงิน บาท = 30 คน 4 ไตเริ่มวาย หมายถึง ผู้ป่วยมีเงิน บาท = 4 คน 5 ไตวาย หมายถึง ผู้ป่วยมีเงิน 0-14 และ ได้รับการทดแทนทางไตล้างไตทางหน้าท้อง ฟอกเลือด ผ่าตัดเปลี่ยนไต = 5 คน

10 บทบาท รพ.สต./ขอบข่ายการให้บริการ CKD
ชุมชน-เครือข่าย-รพ.สต Stage1 ค่า GFR >90 ไตปกติหรือเริ่มผิดปกติ Stage 2 ค่า GFR 60-89 ไตเริ่มเสื่อม Stage 3 ค่า GRF 30-59 ไตเสื่อม Stage 4 ค่า GFR ไตเริ่มวาย Stage 4 ค่า GFR 0-14 ไตวาย โรงพยาบาลหนองคาย

11 การจัดการรายกรณี เข็มไมล์ชีวิต

12 ทีมสหสาขาวิชาชีพ ท้องถิ่น ชมรมจริยธรรม ชมรมคนรักษ์ เครือข่ายพระ ข้าราชการบำนาญ กลุ่ม

13 เครือข่ายที่ช่วยส่งเสริมในการจัดการตนเอง
เทศบาล นสค. ทีมสหสาขาวิชาชีพ แพทย์ อ.จาก มข องค์กรอิสระ ปลูกผักปลอดสารพิษ

14 จิตวิทยาบริหารงานในชุมชน
จาก คุณพ่อสุบรรณ เชษฐา เครือข่ายประสานงานสถาบันพระปกเกล้าจังหวัดหนองคาย โสสิม่าง ภูเขาให้เป็นเดิ้น แม่นมักจกสิเหี่ยน แสนด้ามกะส่างมัน คันแม่นใจเอาตั้ง คงสมหวังมื่อใหม่ มื่อนี่เฮาแลนล่ม มื่อหน้าสิแล่นหัน

15 สวัสดี 15


ดาวน์โหลด ppt โดย เสาวลักษณ์ สัจจา กลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.หนองคาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google