ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
Advertisements

สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การปรับค่าตอบแทน สำหรับกำลังคน ด้านสาธารณสุข
สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ตารางเปรียบเทียบการจ้างงาน ค่าตอบแทน สวัสดิการต่างๆ ระหว่างลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) กับพนักงานกระทรวงสาธารณสุข.
ผศ.ดร. วนาวัลย์ ดาตี้ ผู้ช่วยอธิการบดี
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การเตรียมการเพื่อการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การปรับเพิ่มอัตราค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราวเงินนอก งบประมาณ (เงินบำรุง)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
แนวทางดำเนินการการกระจายอัตรากำลัง
สรุปการเบิกจ่าย ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
การเขียนรายงาน ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
ที่มา : ข้อมูลจากกรมบัญชีกลาง
สิทธิการลาในประเภทตาง ๆ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
เลื่อนขั้นค่าตอบแทน และค่าตอบแทนพิเศษ พนักงานราชการ.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วิชาชีพสาธารณสุขของท้องถิ่นก้าวหน้า หรือล้าหลัง
การคัดเลือกฯ ตาม ว 28/2547.
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์
การให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับ เงินประจำตำแหน่ง
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
The Comptroller General’s Department
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
The Comptroller General’s Department
สป.สธ.ซักซ้อมแนวทางการดำเนินการ ด้านการบริหารงานบุคคล
การเตรียมความพร้อม ก่อนเข้าสู่ตำแหน่ง ตาม พ. ร. บ
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
เปิดเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2536 เลขที่ 6 หมู่ 5 ต.วังจันทร์
การแก้ปัญหากำลังคน การขาดแคลนตำแหน่งสำหรับบรรจุเป็นข้าราชการ เป็นปัญหาเรื้อรัง (ศึกษาร่วมกับ ก.พ. เพื่อหาแนวทางแก้ไข) ปี 2555 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขขอตำแหน่งเพื่อสำหรับบรรจุนักเรียนทุน.
การระบุตำแหน่ง ตาม พรบ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
นโยบายจ่ายค่าตอบแทนพิเศษระบบใหม่ Pay for Performance ( P4 P )
ระเบียบวาระที่ 3.2 ความก้าวหน้าของการจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศข้าราชการระดับกรม (DPIS)
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
แนวทางการกำหนดให้วิชาชีพเป็นสาขา การประกอบโรคศิลปะ
การศึกษาทบทวนเพื่อคาดการณ์กำลังคน ด้านสาธารณสุข ปี 2551
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
การนิเทศติดตาม.
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
การขอรับเงินช่วยเหลือกรณีบาดเจ็บหรือเสียชีวิต จำนวน 5 แหล่ง
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
ข้อเสนอและทางเลือก คลินิกอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลกมลาไสย (กลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา) ความร่วมมือระหว่าง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
การลาประเภทต่างๆ ของข้าราชการ และสิทธิประโยชน์ของพนักงานราชการ
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
วินัยและสิทธิประโยชน์ของ พนักงานราชการ
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การบริหารและพัฒนากำลังคน
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การศึกษาเพิ่มเติม ( ภายในประเทศ ) การศึกษาเพิ่มเติม ( ภายในประเทศ ) งานการศึกษา กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
กลุ่มงานทะเบียนประวัติและเครื่องราชอิสริยาภรณ์
การจัดการงานบุคคลของสหกรณ์ออมทรัพย์
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
เงินตอบแทน การปฏิบัติงานนอกเวลา
เป็นผู้พิจารณากำหนดตำแหน่ง ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ที่ ก.พ. กำหนด
การประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งนายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม สาขา )
ปัญหาการแต่งตั้งข้าราชการ
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เงินเพิ่ม สำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข (พ.ต.ส.)

ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548

พ.ต.ส. คืออะไร พ.ต.ส. คือ เงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข ผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข คือ ข้าราชการพลเรือนผู้ดำรงตำแหน่งนายแพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ นักเทคนิคการแพทย์ นักิกิจกรรมบำบัดหรือนักอาชีวบำบัด นักแก้ไขความผิดปกติของการสื่อความหมาย หรือนักวิชาการศึกษาพิเศษที่ปฏิบัติหน้าที่ด้านแก้ไขไขความผิดปกติของการสื่อความหมาย นักกิจกรรมบำบัดหรือนักอาชีวบำบัดที่ปฏิบัติหน้าที่ด้านกิจกรรมบำบัด นักจิตวิทยาคลินิกหรือนักจิตวิทยาที่ปฏิบัติหน้าที่ด้านจิตวิทยาคลินิก และนักเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก

คุณสมบัติที่เบิกค่าตอบแทน พ.ต.ส. 1. ต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรีขึ้นไป 2. ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ เป็นใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะที่ยังใช้ประโยชน์ได้ โดยไม่พักใช้ หรือเพิกถอน หรือหมดอายุ 3. เป็นผู้ที่ปฏิบัติงานให้บริการด้านสุขภาพด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้าน ได้แก่ ด้านการรักษาพยาบาล ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ด้านการควบคุมป้องกันโรค ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค หรือด้านการฟื้นฟูสภาพ

ผู้ปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขผู้ใดปฏิบัติหน้าที่ไม่เต็มเดือนในเดือนใด ให้ผู้นั้นได้รับ พ.ต.ส. สำหรับเดือนนั้นตามส่วนของจำนวนวันที่ได้ปฏิบัติหน้าที่ แต่ถ้าในเดือนใด ผู้ใดไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามลักษณะงานที่กำหนด ผู้นั้นไม่มีสิทธิได้รับ พ.ต.ส. สำหรับเดือนนั้น เว้นแต่ในกรณี ดังนี้

1. กรณีลาป่วย ให้ได้รับ พ. ต. ส 1. กรณีลาป่วย ให้ได้รับ พ.ต.ส.ระหว่างลาได้ในปีงบประมาณหนึ่งไม่เกิน 60 วันทำการ เว้นแต่ เป็นการป่วยอันเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ก.พ. อาจกำหนดให้ได้รับ พ.ต.ส. เกิน 60 วันทำการได้ตามสมควรแก่กรณี 2. กรณีลาคลอดบุตร ให้ได้รับ พ.ต.ส.ระหว่างลาได้ไม่เกิน 90 วัน 3. กรณีลากิจส่วนตัว ให้ได้รับ พ.ต.ส.ระหว่างลาได้ปีงบประมาณหนึ่งไม่เกิน 45 วันทำการ แต่สำหรับในปีแรกที่เข้ารับราชการ ให้ได้รับ พ.ต.ส. ระหว่างลาได้ในปีงบประมาณนั้นไม่เกิน 15 วันทำการ

4. กรณีลาพักผ่อนประจำปี ให้ได้รับ พ.ต.ส.ระหว่างลาได้ไม่เกินระยะเวลาที่ผู้นั้นมีสิทธิลาพักผ่อน ประจำปี ตามที่กำหนดไว้ในระเบียบว่าด้วยการลาของข้าราชการ 5. กรณีลาอุปสมบท การลาอุปสมบทในพระพุทธศาสนาหรือลาไปประกอบพิธีฮัจญ์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย ซึ่งมิใช่เป็นการลาภายในระยะเวลา 12 เดือนแรกที่เข้ารับราชการ และตั้งแต่เข้ารับราชการยังไม่เคยลาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา หรือยังไม่เคยลาไปประกอบพิธีฮัจญ์ ให้ได้รับ พ.ต.ส.ระหว่างลาได้ไม่เกิน 60 วัน

6. กรณีลาไปเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล ให้ได้รับ พ. ต. ส 6. กรณีลาไปเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล ให้ได้รับ พ.ต.ส.ระหว่างลาได้ไม่เกิน60 วัน แต่ถ้าพันระยะเวลาที่ลาดังกล่าวแล้วผู้นั้นไม่ไปรายงานตัวเพื่อเข้าปฏิบัติหน้าที่หลักของตำแหน่งที่ได้รับแต่งตั้งภายใน 7 วัน ให้งดจ่ายเงิน พ.ต.ส. หลังจากนั้นไว้จนถึงวันเข้าปฏิบัติหน้าที่หลัก 7. กรณีลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย ให้ได้รับ พ.ต.ส.ระหว่างลาได้ไม่เกิน 60 วัน

แบบฟอร์มขอรับค่าตอบแทน ประเภทเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข (พ.ต.ส.)

อัตราการเบิกจ่ายค่าตอบแทน พ.ต.ส. อัตราการเบิกจ่ายค่าตอบแทน พ.ต.ส.

นายแพทย์และผู้อำนวยการเฉพาะด้าน (แพทย์) นายแพทย์และผู้อำนวยการเฉพาะด้าน (แพทย์) กลุ่มที่ 1 อัตรา/เดือน 5,000 บาท กลุ่มที่ 2 อัตรา/เดือน 10,000 บาท กลุ่มที่ 3 อัตรา/เดือน 15,000 บาท

ทันตแพทย์และผู้อำนวยการเฉพาะด้าน(ทันตแพทย์) กลุ่มที่ 1 อัตรา/เดือน 5,000 บาท กลุ่มที่ 2 อัตรา/เดือน 7,500 บาท กลุ่มที่ 3 อัตรา/เดือน 10,000 บาท

เภสัชกรและผู้อำนวยการเฉพาะด้าน(เภสัชกร) กลุ่มที่ 1 อัตรา/เดือน 1,500 บาท กลุ่มที่ 2 อัตรา/เดือน 3,000 บาท

พยาบาลวิชาชีพ กลุ่มที่ 2 อัตรา/เดือน 1,500 บาท กลุ่มที่ 1 อัตรา/เดือน 1,000 บาท กลุ่มที่ 2 อัตรา/เดือน 1,500 บาท กลุ่มที่ 3 อัตรา/เดือน 2,000 บาท

กลุ่มสหสาขาวิชาชีพ ***** เบิกค่าตอบแทนได้ อัตรา/เดือน 1,000 บาท**** นักเทคนิคการแพทย์ (รหัสกลุ่ม สว11) นักกายภาพบำบัด (รหัสกลุ่ม สว21) นักรัวสีการแพทย์ (รหัสกลุ่ม สว31) นักิกิจกรรมบำบัดที่ปฏิบัติหน้าที่ด้านกิจกรรมบำบัด (รหัสกลุ่ม สว41) นักแก้ไขความผิดปกติของการสื่อความหมาย หรือนักวิชาหารศึกษาพิเศษ ที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านแก้ไขความผิดปกติของการสื่อความหมาย (รหัสกลุ่ม สว51) นักเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก (รหัสกลุ่ม สว61) นักจิตวิทยาคลิกนิก หรือนักจิตวิทยาที่ปฏิบัติหน้าที่ด้านจิตวิทยาคลินิก (รหัสกลุ่ม สว71)

ปัจจุบันข้อมูลการเบิกจ่ายเงิน พตส. ได้จัดทำผ่านโปรแกรม พตส. โดยมีผู้รับผิดชอบประกอบด้วย งานการเจ้าหน้าที่ งานการเงิน ฝ่ายบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระนอง

งานการเจ้าหน้าที่ งานการเงิน ทำหน้าที่เพิ่ม / แก้ไขข้อมูลบุคคล / กำหนดสิทธิการเบิก พร้อมตรวจสอบข้อมูลพื้นฐานของผู้มีสิทธิเบิก พตส. งานการเงิน ทำหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลและการเบิกจ่าย / ดำเนินการเบิกจ่าย พร้อมนำส่งข้อมูล พตส. ให้ สำนักนโยบายและแผน กระทรวงสาธารณสุข

ผู้ที่ขอรับค่าตอบแทน - เขียนแบบขอรับค่าตอบแทนประเภทเงิน เพิ่ม สำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษของ ผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข (พ.ต.ส.) ให้ถูกต้องครบถ้วน - เสนอผู้บังคับบัญชาในระดับต้นและนำส่ง ผู้รับผิดชอบงาน พตส.ในแต่ละหน่วยงาน

ผู้รับผิดชอบงาน พตส. ตรวจสอบข้อมูลในแบบขอรับค่าตอบแทนประเภทเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข (พ.ต.ส.) ให้มีความถูกต้องและครบถ้วนดังนี้ - เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ - รหัสการจัดกลุ่ม - วันหมดอายุของใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (ใบอนุญาตฯ หมดอายุ ให้เบิกค่าตอบแทนถึงวันที่ใบอนุญาตฯ หมดอายุเท่านั้น) - ส่งเอกสารให้งานการเจ้าหน้าที่ สสจ.ระนองภายในวันที่ 10 ของทุกเดือน เพื่อได้ลงข้อมูลในโปรแกรม และส่งข้อมูลให้ สำนักนโยบายและแผน กระทรวงสาธารณสุข ต่อไป

สวัสดีค่ะ