เรื่องแนวทางการพัฒนาไปสู่ธนาคารที่ดิน ผู้เข้าร่วมสัมมนา กลุ่มที่ 1 จำนวน 19 ท่าน ประธานกลุ่ม นายทรงพล สุวัณณทัพพะ ส.ป.ก.เชียงใหม่ เลขาฯ นายพลลภัตม์ อ่อนสุวรรณากุล ส.ป.ก.กำแพงเพชร กลุ่มที่ 6 จำนวน 20 ท่าน ประธานกลุ่ม นายวัระพงษ์ พลธิรักษา ส.ป.ก.มหาสารคาม เลขาฯ นางสุภาวดี ระโยธี ส.ป.ก.อำนาจเจริญ กลุ่มที่ 15 จำนวน 20 ท่าน ประธานกลุ่ม น.ส.ณัฐกานต์ อุนทรีจันทร์ ส.ป.ก.สงขลา เลขาฯ น.ส.รุ่งทิวา นวลหนู ส.ป.ก.กระบี่
1. มาตรการคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม 2. การบริหารจัดการที่ดินอย่างเป็นเอกภาพ 2.1 การจัดซื้อ/จัดหาที่ดิน และการจัดให้เกษตรกรเข้าทำประโยชน์ในที่ดิน 2.2 การพัฒนาและปรับปรุงพื้นที่ 2.3 การประเมินมูลค่าที่ดิน/ค่าธรรมเนียม 3. ปัญหาอุปสรรคในการปฏิรูปที่ดิน 3.1 การประกาศเขตปฏิรูปที่ดิน 3.2 ระบบราชการ 3.3 แหล่งเงินทุน 3.4 แนวนโยบายรัฐ
มาตรการคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม คุณสมบัติเกษตรกร เป็นไปตามระเบียบ คปก. ว่าด้วยการคัดเลือก ต้องมีการพัฒนาเกษตรกรที่ได้รับการจัดที่ดิน ให้ดำรงชีพได้ด้วยการเกษตร เช่น ให้องค์ความรู้ด้านการเกษตร ส่งเสริมอาชีพ พัฒนาพื้นที่อย่างยั่งยืน ให้เงินทุน แหล่งน้ำ ถนน สาธารณูปโภคที่จำเป็น พื้นที่ที่ได้รับการจัดที่ดิน (ทั้งนอกและในเขตปฏิรูปฯ) ต้องใช้เพื่อการเกษตรเท่านั้น มุ่งเน้นการจัดที่ดินให้กับเกษตรกรที่มีภูมิลำเนาในพื้นที่ มีบทลงโทษทางกฎหมายอย่างชัดเจนกับผู้กระทำผิดระเบียบ สำรวจที่ดินของรัฐที่ไม่ทำประโยชน์
การบริหารจัดการที่ดินอย่างเป็นเอกภาพ 2.1 การจัดซื้อ/จัดหาที่ดิน และการจัดให้เกษตรกรเข้าทำประโยชน์ในที่ดิน จัดซื้อที่ดินในราคาที่เป็นธรรม ทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย เป็นศูนย์กลางรวบรวม D&S ที่ดินเกษตรกรรม นำที่ดิน NPL แก้ปัญหาหนี้เสีย เป็นธนาคารของรัฐถือหัน 51% 2.2 การพัฒนาและปรับปรุงพื้นที่ ให้ ส.ป.ก. พัฒนาพื้นที่ให้เหมาะสมต่อการทำการเกษตร พัฒนาโครงสร้างขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับสาธารณูปโภค โดยการสนับสนุนและประสานงานกับหน่วยงานอื่น เช่น อบต. กรมการปกครอง
2.3 การประเมินมูลค่าที่ดิน/ค่าธรรมเนียม 2.3 การประเมินมูลค่าที่ดิน/ค่าธรรมเนียม ประเมินราคาที่ดินตามกรมที่ดิน ค่าธรรมเนียมมีขั้นตอน โดยให้ ส.ป.ก. และเกษตรกร จ่ายคนละครึ่ง
3. ปัญหาอุปสรรคในการปฏิรูปที่ดิน 3. ปัญหาอุปสรรคในการปฏิรูปที่ดิน 3.1 การประกาศเขตปฏิรูปที่ดิน แก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวกับอำนาจในการจัดซื้อที่ดิน โดยให้สามารถจัดซื้อที่ดินได้ทั้งในและนอกเขตประกาศในพระราชกฤษฎีกา 3.2 ระบบราชการ ใช้ระบบบริหารจัดการที่ดิน โดยอิงระเบียบราชการและผสมผสานกับระบบธุรกิจ โดยคำนึงถึงความสะดวกรวดเร็วและถูกต้อง อาจจัดตั้งคณะกรรมการเป็นผู้บริหารดำเนินการ
3.3 แหล่งเงินทุน ใช้เงินกองทุนการปฏิรูปที่ดิน เงินอุดหนุนประจำปีจากรัฐบาล ธนาคารออกพันธบัตร/ออกสลาก 3.4 แนวนโยบายรัฐ รัฐบาลต้องมีนโยบายในการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสีย เป็นธุรกิจที่ต้องแสวงหากำไร ตรงข้ามกับกองทุนปฏิรูปฯ การเมือง แทรกแซง ทำตัวเหมือนเป็น Land Lord ข้อดี สามารถแก้ไขปัญหาเรื่องที่ดินได้รวดเร็ว จากระบบราชการ ไม่ต้องรอประกาศเขตฯ ไม่ต้องรอบประมาณ แก้ไขเกษตรกรรายย่อย/รายแปลง
ข้อเสนอแนะ ควรมีการติดตามผลอย่างต่อเนื่อง ควรพัฒนา ส.ป.ก.ให้เป็น ธนาคารที่ดิน แต่กองทุนฯเป็นหน่วยงานด้านการเงินของ ธนาคารที่ดิน ธนาคารที่ดิน เปรียบเหมือน ธอส. เพื่อที่อยู่อาศัย ธนาคารที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ความหมายของธนาคารที่ดิน มี พ.ร.บ. รองรับ