บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทังสเตน ทังสเตนหรือวุลแฟรม ( W ) เป็นโลหะสีเทาเงิน นำความร้อนและไฟฟ้าดีมาก ซึ่งมีจุดหลอมเหลวสูงถึง 3410 องศาเซลเซียส ความหนาแน่น 19.3 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร.
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
บทที่ 8 การใช้รูปภาพ และการออกแบบกราฟฟิกสำหรับเว็บ
บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
สื่อการเรียนรู้ ความงามของศิลปะด้านจิตรกรรม ศ เรื่อง
น้ำหนักแสงเงาหุ่นนิ่ง
Chapter 3 : Still Image (ภาพนิ่ง)
Library Function.  x เป็นตัวเลขที่กำหนดตำแหน่งของ คอลัมน์บนหน้าจอ มีค่าตั้งแต่ 1 – 80  y เป็นตัวเลขที่กำหนดตำแหน่งของ แถวบนหน้าจอ มีค่าตั้งแต่ 1 – 25.
หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
สื่อคุณค่าพระวรสาร กราฟิกเบื้องต้น วิชาคอมพิวเตอร์ ม.1.
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
บทที่ 4 ภาพนิ่ง (Still Image)
วงจรสี.
Web Design.
องค์ประกอบ Graphic.
: Computer Graphics (คอมพิวเตอร์กราฟิกส์)
วิชาถ่ายภาพ.
หน่วยที่ 5 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
สายสัญญาณที่ต่อกับเครื่อง LCD Projector
เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ (Projector)
Liquid Crystal Display (LCD)
เครื่องพิมพ์ (Printer)
ข้อเปรียบเทียบ Monitor 2 แบบ
หลักเกณฑ์การอ่านแผนที่
Basic Color HSB Model หลักการมองเห็นสีด้วยสายตาคน เป็นพื้นฐานการมองเห็นสี ตามสายตามนุษย์ HSB Model จะ ประกอบขึ้นด้วยลักษณะของสี 3 ลักษณะ Hue เป็นที่สะท้อนมาจากสีของวัตถุ
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
วิธีดูธนบัตรปลอม จุดสังเกตในธนบัตรรัฐบาล.
การตกแต่งภาพด้วยคอมพิวเตอร์
แสง สี ไฟ ในภาพยนตร์ Light Color Gaffer
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
Plasma display นางสาวอัจฉรี สุขผ่อง รหัส เทคโนโลยีสารสนเทศ ปี 4.
แบบทดสอบ Photoshop.
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
ความรู้เกี่ยวกับจอ LCD ของ Notebook และเทคนิคการ เลือกซื้อ.
1. สีสันหรือฮิว(HUE) หมายถึง สีที่ตาเรามองเห็น
สี (Color).
Principle of Graphic Design
เครื่องพรินเตอร์ Printer.
Adjectives คำคุณศัพท์.
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
สื่อการเรียนการสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
Computer graphic.
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
Module 4 เครื่องวัดสีและเครื่องวัดสีเฉพาะ
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Low Level GUI อ.วิวัฒน์ ชินนาทศิริกุล.
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร
การนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ให้น่าสนใจได้อย่างไร
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
หลักการและขั้นตอน การออกแบบเว็บไซต์
Hardware แนะนำ วิชา MIS อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
อาจารย์เนารุ่ง วิชาราช แนะนำวิชา จุดมุ่งหมาย
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
ประเภทของภาพในคอมพิวเตอร์
ภาพนิ่ง (Still Image).
Color Standards A pixel color is represented as a point in 3-D space. Axis may be labeled as independent colors such as R, G, B or may use other independent.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์ ภาพแบบราสเตอร์ (Raster) ประกอบด้วยจุดขนาดเล็ก (Pixel) มาเรียงต่อกันในรูปแบบตาราง ไฟล์ภาพ เช่น BMP, JPG, GIF และ TIF ถ้าขยายให้ใหญ่ขึ้น จะเสียคุณภาพของภาพไป ภาพแบบเวคเตอร์ (Vector)…….. 2. รูปแบบการแทนค่าสี 1. ประเภท 3. ความละเอียดของภาพ ภาพ กราฟฟิกส์ 4. ชนิดของไฟล์รูปภาพ 5. กราฟฟิกส์ประยุกต์ การออบแบบ (Computer – Aided Design) เช่นวิศวกรรม สถาปัตยกรรม ใช้โปรแกรม CAD ในการเขียนแบบ งานนำเสนอ (Presentation Graphic) งานออกแบบศิลป์ (Computer Art) งานบันเทิง (Entertainment) การศึกษาและฝึกอบรม (Education and Training)

Raster / Bitmap

Vector

1.3.1 HSB Model HSB Model หลักการมองเห็นสีด้วยสายตาคน เป็นพื้นฐานการมองเห็นสี ตามสายตามนุษย์ HSB Model จะประกอบขึ้นด้วยลักษณะของสี 3 ลักษณะ

Hue เป็นแสงที่สะท้อนมาจากสีของวัตถุ ถูกวัดโดยตำแหน่งบน Standard Color Wheel ซึ่งถูกแทนด้วยองศาคือ 0 ถึง 360 องศา แต่โดยการ ใช้ทั่ว ๆ ไปแล้วมักจะเป็นการเรียกสีนั้นเลยเช่น สีแดง, สีม่วง, สีเหลือง, Saturation เป็นความเข้มข้นและความจางของสี Saturation คือสัดส่วนของสี Hue ที่มีอยู่ในสีเทา วัดค่าเป็น % ดังนี้ คือจาก 0% (สีเทา) จนถึง 100% (full saturation สีที่มีความอิ่มตัวเต็มที่) Brightness เป็นความสว่างและความมืดของสี ซึ่งถูกกำหนดค่าเป็น % จาก 0% (สีดำ) ถึง 100% (สีขาว)

1.3.2 RGB Model RGB Model หลักการมองเห็นสีของเครื่อง Computer RGB Model เกิดจากการรวมกันของ Spectrum ของแสงสี แดง, เขียว และน้ำเงิน ในสัดส่วนความเข้มข้นที่แตกต่างกัน จุดที่แสงทั้งสามสีรวมกัน คือสีขาว บางครั้งเราเรียกสีที่มองเห็นใน RGB Model ว่าเป็น Additive Color ลักษณะการรวมกันเช่นนี้ ถูกใช้สำหรับการส่องแสง ทั้งบนจอภาพทีวี และจอคอมพิวเตอร์ ซึ่งสร้าง จากสารที่ให้กำเนิดแสงสีแดง, สีเขียว และสีน้ำเงิน

1.3.3 CMYK Model CMYK Model หลักการมองเห็นสีของเครื่องพิมพ์ CMYK Model มีแหล่งกำเนิดอยู่ที่การซึมซับ (absorb) ของหมึกพิมพ์ บนกระดาษโดยมีสีพื้นฐาน คือ สี Cyan Magenta และสีเหลือง สีทั้งสามข้างต้นรวมกันเป็นสีดำ บางครั้งเราเรียกว่า สีที่มองเห็นใน CMYK Model ว่าเป็น Subtractive Color แต่สี CMYK ก็ไม่สามารถผสมผสานรวมกันให้ได้สีบางสี เช่น สีน้ำตาล จึงต้องมีการเพิ่มสีดำลงไป เมื่อรวมกันทั้ง 4 สีคือ CMYK สีที่ได้จึงครอบคลุมสีที่เกิดจากการพิมพ์สีทุกสี

1.3.4 LAB Model LAB Model เป็นค่าสีที่ถูกกำหนดขึ้นโดย CIE (Commission Internationaled Eccclairage) ให้เป็นมาตรฐาน การวัดสีทุกรูปแบบ ครอบคลุมทุกสีใน RGB และ CMYKและใช้กับสีที่เกิดจากอุปกรณ์ทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็น Monitor, Printer, Scanner ฯลฯส่วนประกอบของโหมดสีได้แก่ A. Luminance=100 (white) B. Green to red component C. Blue to yellow component D. Luminance=0 (black)

ภาพสีกับ Color Dept 8 Bits 1 Bit 16 Bits 4 Bits

True Color vs 256 Colors การใช้ 256 color แทน True Color อาจ ทำได้แต่ถ้าเฉดสีมากเกินไปจะทำให้เฉดสีบางสีผิดเพี้ยน

สีกับความรู้สึก สีแดงที่เร่าร้อน สีฟ้าที่เย็น แดงเหลืองที่อบอุ่น สีเขียวสดชื่น สีส้มเป็นมิตร แดงน้ำเงินแห่งอำนาจ

สีกับความรู้สึก สีม่วงที่ลึกลับ ฟ้าเขียวที่ซาบซ่า