โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอ่อนหวาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมทันตสุขภาพในคลินิกเด็กดีจากแบบจำลองความเสี่ยงในการเกิดโรคฟันผุ Development of a Dental Health Promotion Program in Well Baby.
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
การส่งเสริมทันต สุขภาพในอนาคต มุมมองของนัก โภชนาการ สง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขระดับ 9 กรมอนามัย.
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ศูนย์อนามัยที่๔ ราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 0-5 ปี
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
ส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน มีนาคม - มิถุนายน 2549
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ไอโอดีนมีอยู่ทุกที่ ดูให้ดี กินให้เป็น
การบริหารงาน ในยุคโลกเปลี่ยน
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ ล้านคน
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
ปัญหาสุขภาพตำบลสำนักท้อน  แบ่งตามกลุ่มอายุ  แบ่งตามโรค - โรคติดต่อ - โรคไม่ติดต่อ  แบ่งตามปัญหาสังคม - ยาเสพติด - อุบัติเหตุ  ปัญหาของ รพ. สต  ปัญหาของ.
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
Unity Team (รวมกันเป็นหนึ่งเดียว) การทำงานร่วมกันและดำเนินงาน
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
วันรับรางวัล อสม.ดีเด่นระดับชาติประจำปี 2553 ณ หอประชุมเจ้าพระยา กองทัพเรือ กรุงเทพฯ วันที่ 24 มิถุนายน 2553.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอ่อนหวาน ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทัพทัน อำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอ่อนหวานคืออะไร??

โครงการนี้มีจุดเริ่มต้นมาจากเครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน เป็นเครือข่ายองค์กรและบุคคลหลายกลุ่ม ที่เน้นรณรงค์ให้เด็กๆ ลดการกินหวานลงให้พอดีกับความต้องการของร่างกาย โดยเกิดจากการรวมกลุ่มของ ทันตแพทย์ กุมารแพทย์ นักโภชนาการ เริ่มต้นตั้งแต่ช่วงพ.ศ. 2545 โดยได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส) มีการนำความรู้เรื่องโรคภัยจากการกินหวานเกินเสนอสู่สังคม เพราะมีข้อมูลผลสำรวจชัดเจนว่า เด็กไทยจำนวนมากในปัจจุบัน ได้รับน้ำตาลจากการกินขนม นมหวาน นมเปรี้ยวและน้ำอัดลม มากเกินกว่าที่ควร ส่งผลให้เด็กไทยเป็นโรคอ้วน ฟันผุ และโรคแทรกซ้อนอื่นๆอีกมาก

เป้าหมายของเครือข่าย เด็กไทยไม่กินหวานพยายามสร้างค่านิยมในการกินแบบใหม่ในหมู่เด็กไทย รวมถึงผู้ปกครองและคุณครู ให้ใส่ใจสุขภาพของเด็กโดยการลดนิสัยการกินหวานลง การทำงานของเครือข่ายใช้แนวคิดด้านการสื่อสารที่หลากหลาย เพื่อทำให้เด็กๆ เปลี่ยนค่านิยมในการกินได้ เพื่อให้เด็กไทยมีสุขภาพดีถ้วนหน้า ไม่ประสบปัญหาโรคภัยจากความหวานอีกต่อไป

สัญลักษณ์และมาสค็อตของโครงการ สัญลักษณ์ของโครงการ “น้อยหน่อย” มาสค็อตของโครงการ

อาหารที่มีน้ำตาลสูง!! เมื่อเด็กๆลืมตาขึ้นมาดูโลก อาหารด่านแรกที่ทำให้เด็กไทยเสี่ยงภัยจากความหวานก็คือนม ในปี 2545 มีการสำรวจพบว่าเด็กไทยมีอัตราฟันผุมากขึ้น ซึ่งมีสาเหตุมาจากการรับประทานนมที่มีรสหวานเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะในเด็กเล็ก พอเริ่มโตขึ้น ก็หนีไม่พ้น ขนมกรุบกรอบ ขนมหวาน น้ำอัดลม ลูกอม ซึ่งมีจำหน่ายโดยทั่วไปและส่งเสริมการขายกันอย่างเสรี สิ่งเหล่านี้ถือเป็นประตูบานแรกๆที่ทำให้เด็กไทยเสี่ยงต่อภาวะน้ำตาลเกิน หรือเรียกว่า เสี่ยงภัยหวานตั้งแต่เกิด

โรคฟันผุ ผลเสียของการกินหวาน โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคหัวใจ