การจัดการอุบัติภัยจากสารเคมี พัชรี บุญศิริ ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ขั้นตอนการจัดการอุบัติภัยจากสารเคมี 1.กำหนดความเสี่ยง 2.ป้องกันผู้ปฏิบัติงาน และพิจารณาเลือกใช้ อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 3.จำกัดการรั่วไหล 4.หยุดการรั่วไหล 5.ประเมินสภาพและจัดการทำความสะอาด 6.ชำระการปนเปื้อน 7.รายงาน
ขั้นที่ 1 กำหนดความเสี่ยง (Assess the risk)
เส้นกำหนดขอบเขตการปฏิบัติงาน ทิศทางลม เส้นกำหนดขอบเขตการปฏิบัติงาน เส้นกำหนดจุดสัมผัสสารเคมี บริเวณสั่งการ เส้นแบ่งเขตอันตราย จุดควบคุม Warm zone Hot zone Hazard area Cold zone Staging area
ขั้นที่ 2 การป้องกันผู้ปฏิบัติงาน และ การพิจารณาเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกัน อันตรายส่วนบุคคล (Protect yourself)
การพิจารณาเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกัน อันตรายส่วนบุคคล (Protect yourself) เลือกอุปกรณ์โดย ศึกษาข้อมูลสารเคมีจาก MSDS ถ้าไม่ทราบชนิดสาร ให้เลือกการป้องกันระดับสูงสุด
ระดับการป้องกันสารเคมีอันตราย มี 4 ระดับ ระดับการป้องกันสารเคมีอันตราย มี 4 ระดับ ระดับ A ระดับ B ระดับ C ระดับ D A (Environmental Protection Agency’s Office of Emergency and Remedial Response)
ระดับ A ชุดกันสารเคมีแบบ Total encapsulating chemical protection suit (Vapor-light suit) มีอุปกรณ์ Self-contained breathing apparatus (SCBA) (Air-line respirator) ถุงมือ และ รองเท้าหัวเหล็ก กันสารเคมี ป้องกันสูงสุด (ระบบหายใจ, ตา, ผิวหนัง, เยื่อบุ) A
B ระดับ B อุปกรณ์เหมือน A ยกเว้นชุดกันสารเคมี ใช้ splash garment ป้องกันระบบหายใจสูงกว่าระบบอื่น
D ป้องกันธรรมดา อุปกรณ์มี หน้ากากและไส้กรองสารเคมี (air purifying respirator) Splash garment, ถุงมือ และ รองเท้าหัวเหล็ก C ป้องกันแบบรู้ชนิดและความเข้มข้นสาร
ขั้นตอนการพิจารณาเลือกใช้อุปกรณ์ เริ่ม ไม่ทราบประเภทสารเคมีที่รั่วไหล YES ระดับ A NO YES สารนี้เป็นพิษต่อผิวหนังหรือไม่ NO YES ระดับ B ไม่ทราบสภาพอากาศขณะนี้
ขั้นตอนการพิจารณาเลือกใช้อุปกรณ์ ไม่ทราบสภาพอากาศขณะนี้ NO YES YES สภาพนี้ต้องใช้หน้ากาก ควรสวมหน้ากาก ระดับ C NO YES สารนี้ระคายเคืองผิวหนัง NO ระดับ D
ขั้นที่ 3 การจำกัดการรั่วไหล (Confine the spill) ทิศทางลม อยู่เหนือลม สารเคมี ห้ามทำให้เกิดความร้อนหรือประกายไฟ
ขั้นที่ 4 การหยุดการรั่วไหล (Stop the source) อุดปิดรอยรั่ว จุดรั่วไหล ถ่ายเทจากถังชำรุดไปยังถังที่สภาพดีและใหญ่กว่า
ขั้นที่ 5 การประเมินสภาพ และจัดการทำความสะอาด (Evaluate and Implement Cleanup) จัดเก็บสารเคมีให้เรียบร้อย วัสดุดูดซับ จะมีสภาพเป็นของเสียอันตรายด้วย ต้องจัดการเผา, ฝังกลบ หรือเป็นเชื้อเพลิง
ขั้นที่ 6 การชำระการปนเปื้อน (Decontamination)
ขั้นที่ 7 การรายงาน (Report) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามกฎหมาย ตำรวจทางหลวง กรมควบคุมมลพิษ กรมแรงงาน หน่วยงานภายในบริษัท