Risk Management Strategy
Rebalance Portfolio การ Rebalance Portfolio เป็นการปรับน้ำหนักการลงทุนใหม่หลังจากเกิดการเปลี่ยนแปลงมูลค่า Portfolio เวลาเปลี่ยนแปลงไป ราคาเปลี่ยนแปลงไป เงื่อนไขการลงทุนเปลี่ยนแปลงไป ใช้ในการลงทุนแบบ Active Management
มูลค่าความเสี่ยงกลุ่มหลักทรัพย์ ขึ้นอยู่กับ พฤติกรรมความเสี่ยงของหลักทรัพย์ การกระจายน้ำหนักการลงทุน จำนวนเงินลงทุน ดังนั้นแนวทางการปรับเปลี่ยนเพื่อลดความเสี่ยงจึงทำได้โดย เลือกหลักทรัพย์ ปรับน้ำหนักใหม่ ลดเงินลงทุน
การจัดการความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ กรอบการจัดการความเสี่ยง โดยที่ VaR* เป็นขนาดผลขาดทุนสูงสุดที่กำหนดเป็นนโยบายไว้ ความเสี่ยงที่มีมากเกินไป (ด้านซ้ายมือน้อยกว่าด้านขวามือของสมการ อาจเป็นเพราะ มีฐานะ (Exposure) มากเกินไปในกลุ่มหลักทรัพย์ หรือ W0 มากเกินไป แก้โดยการจัด Asset Allocation ใหม่ กระจายน้ำหนักการลงทุนไม่เหมาะสม เช่น ให้น้ำหนักที่มากเกินไปกับหลักทรัพย์เสี่ยงสูง และน้อยเกินไปกับหลักทรัพย์เสี่ยงต่ำ
ผลกระทบของการปรับน้ำหนักการลงทุนต่อ VaR คำนวณจากมูลค่าความเสี่ยงที่เปลี่ยนไปต่อการเปลี่ยนแปลงค่าน้ำหนักการลงทุน จาก Jorion จะได้ว่า จัดสมการใหม่ ได้เป็น
Marginal VaR เรียก ที่ได้ว่า มูลค่าความเสี่ยงส่วนเพิ่ม (Marginal VaR)
ตัวอย่าง ผู้ลงทุนในหุ้นสามัญ ประกอบด้วยหุ้น A B และ C เป็นจำนวนรวม 30,000 บาท โดยการกระจายน้ำหนักเท่าๆกัน ในหุ้นแต่ละตัว ทั้งนี้อัตราผลตอบแทนรายวันของหุ้น มีการแจกแจงร่วมแบบปกติ มีค่าที่คาดและค่าความแปรปรวนร่วมเท่ากับ
Equally weighted Returns and Variance of Portfolio คำนวณ returns, Variance ได้ คำนวณ มูลค่าความเสี่ยง
คำนวณ ความแปรปรวนร่วมและ Unit Marginal VaR Marginal VaR และ Unit Marginal VaR เมื่อลงทุนเพิ่มขึ้น 1 บาท หุ้น C จะทำให้มูลค่าความเสี่ยงเพิ่มเยอะที่สุด
Rebalance Strategy ลดการลงทุนในหุ้น C หรือลดเงินลงทุนในหุ้น C คำนวณน้ำหนักการลงทุนใหม่ คำนวณ VaR ใหม่ว่าต่ำกว่า VaR ตามนโยบายหรือไม่ *ใช้เวลาเยอะ*
Incremental VaR กำหนดให้ a คือvector การปรับเปลี่ยนขนาด (n×1) ซึ่งสมาชิกตัวที่ ไอ แสดงขนาดเงินลงทุนที่ถูกปรับเปลี่ยน (เครื่องหมาย + แสดงถึงการเพิ่มเงินลงทุนในหลักทรัพย์นั้น เครื่องหมายลบแสดงการลดเงินลงทุนในหลักทรัพย์นั้น) คำนวณมูลค่าความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไปได้โดย
ตัวอย่าง จากตัวอย่างที่ผ่านมาสมมติว่าผู้ลงทุนปรับการลงทุนในกลุ่มหุ้นสามัญ โดยการลดขนาดการลงทุนในหุ้น B และ C ลงหุ้นละ 500 บาทแล้วไปเพิ่มการลงทุนในหุ้น A อีก 1000 บาท ดังนั้น vector a เขียนได้เป็น คำนวณ Incremental VaR แสดงว่าการปรับเปลี่ยนทำให้ มูลค่าความเสี่ยงลดลง 70.18 บาทได้ มูลค่าความเสี่ยงใหม่ 3130.82 บาท
CVaR CVaR คือ Component VaR มูลค่าความเสี่ยงของหลักทรัพย์องค์ประกอบ หมายถึงมูลค่าความเสี่ยงของแต่ละหลักทรัพย์ที่ประกอบในกลุ่มหลักทรัพย์ คำนวณ CVaR ได้จากสูตร โดยที่ และ
ตัวอย่าง คำนวณ CVaR จากตัวอย่างที่ผ่านมา CVaRA=-0.0599×10,000 = -599 CVaRB=-0.1023×10,000 = -1,023 CVaRC=-0.1579×10,000 = -1,579 ผลรวมมูลค่าความเสี่ยงของหลักทรัพย์องค์ประกอบเท่ากับ VaR VaR =-599-1023-1579 = 3,201 บาท คำนวณน้ำหนักขององค์ประกอบ