การจัดการเรียนรู้ที่เน้นคุณภาพในห้องเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)
การจัดระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา โรงเรียนด่านแม่คำมัน
โรงเรียนวัดเขาปิ่นทอง
PCTG Model อริยมงคล 55.
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
เส้นทางก้าวสู่เป้าหมาย การสร้างวัฒนธรรมวิจัยในโรงเรียน ปีที่ 2
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
ปฏิบัติการขับเคลื่อน ห้องเรียนคุณภาพ
การพัฒนาหลักสูตรสถานเลี้ยงเด็ก
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
สรุปการดำเนินงานด้าน ICT โรงเรียนเขาทรายทับคล้อพิทยา
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ การจัดการเรียนการสอน
บทที่ 1 การวิจัยกับการ พัฒนางานของครู
แผนกลยุกต์การจัดการศึกษาเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1.
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
ดร.นิวัตต์ น้อยมณี การประเมินห้องเรียนคุณภาพ โดย
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
การประเมินผลการเรียน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ความหมายและความสำคัญ ในการนำ ICT มาใช้ในการเรียนรู้
ความดีเด่นของสถานศึกษา
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
แนวทางการดำเนินงาน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในโรงเรียนเอกชน
การจัดทำแผนปฏิบัติการ ศึกษาพัฒนาและผลิตสื่อ ทางประวัติศาสตร์ในชุมชน
การแต่งกายของนักเรียน
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มาตรการส่งเสริม โรงเรียนบ้านเขาแก้ววิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1.
ทฤษฎีและหลักการบริหารชั้นเรียน
สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3
สถานศึกษาประเภทที่ 1 ทบทวนสาระผู้นำการเปลี่ยนแปลง
BEST PRATICES การจัดการเรียนรู้ระดับปฐมวัยที่ดี “ อนุบาลน้อย
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
การพัฒนาศักยภาพครูสู่ตำแหน่งวิชาการ ในมุมมองของผู้บริหารโรงเรียน.
ADDIE Model.
1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
หลักสูตรประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จำรัส เพชรทับ
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการเรียนรู้ที่เน้นคุณภาพในห้องเรียน 1.ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง 2. การวิจัยในชั้นเรียน 3. ICT ในห้องเรียน 4. การออกแบบการเรียนรู้อิงมาตรฐาน 5. วินัยเชิงบวก

ยกระดับคุณภาพการศึกษา ความคาดหวังของห้องเรียนคุณภาพ ศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการจัดการศึกษาเดิมของแต่ละโรงเรียน (Based-Line) หลักสูตร เครือข่าย 5 นิ้ว/ฝ่ามือ กิจกรรมสนับสนุน แหล่งเรียนรู้ ออกแบบการจัดการ เรียนรู้อิงมาตรฐาน สร้างวินัยเชิงบวก ICT โรงเรียน ผู้บริหารผู้นำการเปลี่ยนแปลง ICT ห้องเรียน ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง ห้องเรียน คุณภาพ Inside out CAR Outside in การวางแผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) ยกระดับคุณภาพการศึกษา

ดัชนีตัวชี้วัด 1.ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง 2. การวิจัยในชั้นเรียน(CAR) 3. ICT ในห้องเรียน 4. การออกแบบการเรียนรู้อิงมาตรฐาน 5. วินัยเชิงบวก (Positive Discipline)

1. การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนฯ ดัชนีตัวชี้วัด (1) ความรู้(Knowledge :K) - ครูมีความรู้ในเรื่องแนวคิดในการเปลี่ยนแปลง - ครูมีความรู้ในเรื่องการจัดการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลง - ครูมีความรู้ในเรื่องการจัดการห้องเรียนที่มีประสิทธิภาพ - ครูมีความรู้ในเรื่องห้องเรียนคุณภาพ

1. การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนฯ(ต่อ) ดัชนีตัวชี้วัด (ต่อ) (2) ผลการปฏิบัติ(Performance :P) - ครูมีแผนพัฒนาตนเองและผลงานอย่างสร้างสรรค์ (3) ตัวชี้วัด(Indicator : I) - ครูมีความตื่นตัวในการสร้างสรรค์ ทุ่มเททำงานอย่างสุดชีวิตจิตใจ -ครูมีแผนพัฒนาตนเอง ร่วมมือกันทำงานและผลงานอย่างสร้างสรรค์

2. CAR เพื่อนำการเปลี่ยนแปลง ดัชนีตัวชี้วัด (1) ความรู้(Knowledge :K) - การจัดทำ ID Plan - การวิจัยในชั้นเรียน (2) ผลการปฏิบัติงาน(Performance : P) –ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ของตนเอง -รายงานการพัฒนาตนเองและนักเรียน

2. CAR เพื่อนำการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) ดัชนีตัวชี้วัด (ต่อ) (3) ตัวชี้วัด (Indicator :I) - ใช้ CAR พัฒนาตนเองและนักเรียน - มีเพื่อสะท้อนความคิด

3. ICT ในห้องเรียน ดัชนีตัวชี้วัด (1) ความรู้(Knowledge :K) - การใช้ ICT เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน (2) ผลการปฏิบัติงาน(Performance : P) – การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใช้หรือทำสื่อ ICT - มี e-mail และเผยแพร่งานทาง Web site

3. ICT ในห้องเรียน (ต่อ) ดัชนีตัวชี้วัด (ต่อ) (3) ตัวชี้วัด(Indicator :I) - มีแผนการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีการใช้ ICT หรือการบูรณาการสาระวิชาต่างๆอย่างหลากหลาย

4. การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ดัชนีตัวชี้วัด (1) ความรู้(Knowledge :K) - ครูออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน รูปแบบ Backward Design – ผู้บริหารนิเทศ Coach การจัดกิจกรรมเรียนรู้

4. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ฯ (ต่อ) ดัชนีตัวชี้วัด (ต่อ) (2) ผลการปฏิบัติ(Performance :P) - ออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ – รายงานผลการพัฒนาผู้เรียนด้วยระดับคุณภาพ (3) ตัวชี้วัด (Indicator : I) - นักเรียนมีผลงาน ชิ้นงานที่สะท้อนคุณภาพการคิดระดับสูง

5. การสร้างวินัยเชิงบวกในห้องเรียน ดัชนีตัวชี้วัด (1) ความรู้(Knowledge :K) - ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - การสร้างวินัยเชิงบวก (2) ผลการปฏิบัติงาน(Performance : P) – จัดการพัฒนานักเรียนในชั้นอย่างเป็นระบบ

5. การสร้างวินัยเชิงบวกในห้องเรียน (ต่อ) ดัชนีตัวชี้วัด (ต่อ) (3) ตัวชี้วัด(Indicator :I) - ครูมีพฤติกรรมเชิงบวก จัดระบบการพัฒนานักเรียนอย่างเป็นระบบ เป็นองค์รวม ทั้งร่างกาย สติปัญญา สังคม และอารมณ์