สภาปฏิรูปแห่งชาติ กรรมาธิการการมีส่วนร่วมและรับฟัง ความคิดเห็น ประธาน - ประชา เตรัตน์ รองประธานคนที่ 1 - พลเดช ปิ่นประทีป รองประธานคนที่ 2 - อรพินทุ์ สพโชคชัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การจัดทำแผนบริหารจัดการชุมชน
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
โครงการจัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย
ประสบการณ์และวิธีการจัดการความรู้ ในงานบริการพยาบาล
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
โครงการจัดทำร่างยุทธศาสตร์ความมั่นคงของมนุษย์
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
แนวคิด ในการดำเนินงาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนที่วัฒนธรรมในเขตคูเมืองลำพูน
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
พระธาตุพนมค่าล้ำ วัฒนธรรมหลากหลาย เรณูภูไท เรือไฟโสภา งามตาฝั่งโขง.
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
ทุกท่านด้วยความยินดียิ่ง
การทำงานเชิงกระบวนการในชุมชน
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
กลุ่มที่ 1 Blueprint for Change.
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
ระบบส่งเสริมการเกษตร
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
สู่การเดินหน้าปฏิรูป วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2557 ณ โรงแรม เดอะ สุโกศล
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
สรุปการประชุมระดมความคิด
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
จำนวนคณะกรรมาธิการที่ส่งประเด็น ณ วันที่ 10 ธันวาคม 2557 เวลา น. คณะกรรมาธิการปฏิรูปจำนวน - การเมือง20 - การบริหารราชการแผ่นดิน11 - กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม12.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สรุปความเห็นและข้อเสนอแนะ ในการยกร่างรัฐธรรมนูญ ของคณะกรรมาธิการ ๑๘ คณะ จำนวน ๒๔๖ ประเด็น 1 ข้อมูลสรุป ณ วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เวลา ๒๒.๓๐ นาที
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
การปฏิรูปการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
RNN Thailand Open Platform “ คนไทยทุกคนเป็นเจ้าของการปฏิรูป ”
เป้าหมายร่วมแห่งชาติ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
INSPIRING THAILAND โครงการความร่วมมือเพื่อการ เปลี่ยนประเทศไทย Inspiring Thailand ประชาช น เอกชน รัฐ.
สรุปประเด็น เป้าหมายการทำงาน – ภารกิจ 5 ด้านตาม NHA
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
DHS.
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สภาปฏิรูปแห่งชาติ กรรมาธิการการมีส่วนร่วมและรับฟัง ความคิดเห็น ประธาน - ประชา เตรัตน์ รองประธานคนที่ 1 - พลเดช ปิ่นประทีป รองประธานคนที่ 2 - อรพินทุ์ สพโชคชัย เลขานุการ - ชัยพร ทองประเสริฐ ผู้ช่วยเลขานุการ - หาญณรงค์ เยาวเลิศ โฆษก - นิมิตร สิทธิไตรย์ ที่ปรึกษา - เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง, รสนา โตสิ ตระกูล, ประเสริฐ ชิตพงษ์

เป้าหมายการทำงานของกมธ. การมีส่วนร่วม 1. สร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของการปฏิรูปของ ประชาชน - พลเมืองในทุกจังหวัดและ ชุมชนท้องถิ่นทั่วประเทศ 2. รวบรวมข้อคิดเห็นจากประชาชนทุกหมู่ เหล่า เพื่อนำเสนอต่อกมธ. ยกร่างรธน. อย่างทันต่อเวลาและตรงประเด็น 3. รวบรวมข้อคิดเห็นเสนอแนะจากประชน ทุกวงการ ทั่วประเทศ นำเสนอต่อกมธ. ปฏิรูปทั้ง 18 คณะ โดยครบถ้วน อย่างเป็น รูปธรรม

กรอบกิจกรรมและเนื้องานสำคัญ กิจกรรมและเวทีการมีส่วน ร่วมเชิงพื้นที่ (77 จว.) กิจกรรมและเวทีการมีส่วน ร่วมเชิงเครือข่ายประเด็น และกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ (18 ประเด็น +..) กิจกรรมการสื่อสาร รณรงค์และการมีส่วนร่วม ที่หลากหลาย งานรวบรวมและสังเคราะห์ ประเด็นการปฏิรูป เพื่อ การส่งต่อและขยายผล งานประสานภายในทั้งระบบ ( กธม และ สปช.250)

ห้วงเวลา เนื้อหาสาระและจังหวะ กิจกรรม ส่วนที่ 1 การร่างรธน. 1. ก่อน 19 ธค ตั้งวงระดมความคิดขนาด เล็ก /FGD ทำสรุปข้อเสนอแนะ ( อย่างรวดเร็ว ) ว่ามี ประเด็นหรือเรื่องอะไรบ้างที่กลุ่มเห็นว่าสำคัญ ที่จะฝาก กมธ. รธน.( สั้นๆ ) เพื่อเขาจะเอาไปใช้ในการตั้งเป็น กรอบหรือเค้าโครงในการเขียนรธน. 2. ก่อน 17 เม. ย เปิดเวทีประชาเสวนา / ระดม ความคิด / สื่อสารมวลชน / สื่อสารสังคม /poll/ ฯลฯใน ประเด็นรธน. ใหม่กับการปฏิรูปการเมือง ( ในหัวข้อหรือ มิติที่เครือข่ายสนใจ ) อย่างน้อย 1-2 ครั้ง โดยมีการสรุป สังเคราะห์สาระสำคัญเพื่อเสนอต่อกมธ. รธน. ก่อนที่เขา จะเขียนร่างรธน. เป็นตุ๊กตา ( ร่าง 1) 3. ก่อน 28 กค เปิดเวทีรับฟังความคิดเห็นต่อ ” รธน. ร่าง (1)” โดยจะดูเฉพาะภาพรวม หรือรายละเอียด ทุกมาตราก็สุดแต่ความสนใจของเวที สัก 2-3 ครั้ง โดย จัดให้มีทีมวิชาการสรุปข้อคิดเห็น ข้อสังเกตุและ ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขปรับปรุงของ กมธ. รธน. อย่างทันต่อเวลาก่อนที่เขาจะจัดทำร่างฉบับ ที่ 2 ซึ่งเป็นร่างสุดท้าย ที่สปช.250 คนจะชี้ขาดว่า “ รับ หรือไม่รับ ” แบบทั้งฉบับ

ห้วงเวลา เนื้อหาสาระและจังหวะ กิจกรรม ส่วนที่ 2 การปฏิรูป 18 ประเด็น 1.Quick Win สามเดือนแรก ( ธค. มค. กพ.) - ร่วมกับกมธ. ๑๘คณะและเครือข่ายทางสังคม รวบรวมข้อเสนอการ ปฏิรูปที่ตกผลึกแล้วและเป็นรูปธรรม ( ร่างกฎหมายเชิง ปฏิรูปที่มีอยู่เรียบร้อยแล้ว ) นำเข้าสู่การพิจารณาของ สปช. ๒๕๐โดยเร็ว และส่งต่อครม. และสนช. เพื่อสร้าง ผลงานแก่ประชาชนร่วมกัน 2.Redesign หกเดือน ( มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค.) - ร่วมกับ กมธ. ๑๘คณะและเครือข่ายทางสังคมอย่างกว้างขวาง ในการออกแบบการปฏิรูปประเทศตามวิสัยทัศน์ภิวัฒน์ ไทย ให้มีเป้าหมายเป็นร่างแผนแม่บทและร่างกฎหมาย การปฏิรูปที่เป็นรูปธรรม โดยดำเนินการคู่ขนานไปกับ กระบวนการและขั้นตอนการทำงานของสภาสปช. ๒๕๐ 3.Transfer สามเดือนสุดท้าย ( กย. ตค. พย.) – ร่วมกับสปช. ๒๕๐จัดกิจกรรมส่งมอบผลงานและผลผลิตให้กับ สังคม รัฐบาล สนช. และพรรคการเมืองในรูปแบบที่ หลากหลาย

คณะอนุกรรมาธิการการมีส่วน ร่วมระดับจังหวัด ประธาน - สปช. จว. อดีตผู้สมัครสปช. จว. - กลุ่มเครือข่ายสภาพัฒนาการเมือง / สภาองค์กร ชุมชนจว. – เครือข่ายประชาสังคมและหอการค้า ( ศูนย์ ประสานภาคีการพัฒนาจังหวัด ) - สถาบันการศึกษาและนักวิชาการท้องถิ่น – กกต. จว. – เลขานุการ ผวจ./ กอ. รมน./ มณฑลทหารบก / พระปกเกล้า / ปชส./ สถิติ / - ที่ปรึกษา

แผน 1- 7( ) “ เศรษฐกิจ ก้าวหน้า สังคมมีปัญหา การพัฒนาไม่ ยั่งยืน ” ช่วงแผน 8-11 ( ) “ เศรษฐกิจติดกับ ทรัพยากรเสื่อมโทรม สังคมเหลื่อมล้ำ ราชการรวมศูนย์ การเมืองวิกฤติ ทุจริตเบ่งบาน ” วิสัยทัศน์ 2035 หนึ่งศตวรรษ อภิวัฒน์ ประเทศไทย มองย้อนหลังกึ่งศตวรรษ กับ วิสัยทัศน์ 20 ปี ข้างหน้า ประเทศรายได้สูง ไม่มีปัญหา คนยากจน ความเหลื่อมล้ำลดลง มีระบบ ดูแลผู้สูงอายุและแรงงาน ต่างชาติ พื้นที่ป่าร้อยละ 37 ที่ อุดมสมบูรณ์ จัดการพลังงาน และสิ่งแวดล้อมได้ ระบบคุณธรรมจริยธรรมฟื้น คืน โครงสร้างอำนาจทาง การเมืองได้ดุล ดัชนีความ โปร่งใสเกิน 5.5 แก้ปัญหาชายแดนใต้ได้ อย่างยั่งยืน