โครงการพัฒนาระบบการจดทะเบียนการเกิด ภญ. เนตรนภิส สุชนวนิช ผู้ช่วยเลขาธิการสปสช. 20 มกราคม 2555
ประเด็นคำถาม สืบเนื่องจาก... คำถาม : ในประเทศไทยมีเด็กเกิดกี่คนต่อปี? คำตอบ : ....!...?
ไม่ได้ออกใบรับรองการเกิด สภาพปัญหา เด็กเกิดใหม่ ไม่ได้ออกใบรับรองการเกิด ออกใบรับรองการเกิด รพ. ไม่แจ้งเกิด แจ้งเกิด สนบท.
ความสำคัญ “การออกเอกสารการเกิดและการแจ้งเกิด” เป็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญยิ่งต่อการเข้าถึงหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และลดปัญหาอุปสรรคในการเข้าถึงสิทธิการรับบริการสาธารณสุขของบุคคลตาม มาตรา ๕ ของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 ที่กล่าวไว้ว่า“บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ”
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบการจดทะเบียนการเกิดให้มีความเชื่อมโยงระหว่างหน่วยบริการกับหน่วยทะเบียนของกระทรวงมหาดไทย เพื่อติดตามเด็กทุกคนที่ยังไม่เข้าสู่ระบบการทะเบียนให้มาเข้าระบบได้อย่างครบถ้วน เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงหลักประกันสุขภาพของประชาชน
Stateless people
กลุ่มเป้าหมาย ปี 2554 หน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 40 แห่ง หน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 40 แห่ง ปี 2555 หน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 490 แห่ง
กรอบแนวคิด มุ่งเน้นให้เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลการออกหนังสือรับรองการเกิดของหน่วยบริการ กับข้อมูลการออกสูติบัตรของสำนักทะเบียนราษฎร กระทรวงมหาดไทย หน่วยงานรัฐบาลมีฐานข้อมูลที่อ้างอิงได้ เพื่อเป็นข้อมูลตั้งต้นในการติดตามเด็กเกิดใหม่ที่ยังไม่ได้แจ้งเกิดในระบบทะเบียนให้เข้าสู่ระบบได้อย่างครบถ้วน ส่งเสริมการเข้าถึงหลักประกันสุขภาพของประชาชน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ มีระบบการจดทะเบียนการเกิดที่มีความเชื่อมโยงระหว่างหน่วยบริการกับหน่วยทะเบียนของกระทรวงมหาดไทย สามารถติดตามเด็กทุกคนที่ยังไม่เข้าสู่ระบบการทะเบียนให้มาเข้าระบบได้อย่างครบถ้วน เด็กเกิดใหม่ทุกรายได้รับการแจ้งเกิด และเข้าถึงระบบประกันสุขภาพได้อย่างถ้วนหน้า
จำลองเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น การรับรองการเกิด ได้ reference no. ได้สูติบัตร PID 13 หลัก สัญชาติไทย สัญชาติต่างด้าว สำนักงานเขต เทศบาล การรับรองการเกิด ได้ reference no. ข้อมูลเพื่อให้หน่วยบริการติดตาม ส่งข้อมูลที่ไม่ได้รับสูติบัตร สำนักงานเขต เทศบาล สปสช. การรับรองการเกิด ได้ reference no. ข้อมูลเพื่อให้หน่วยบริการติดตาม ส่งข้อมูลที่ไม่ได้รับสูติบัตร สำนักงานเขต เทศบาล สปสช.
การบูรณาการข้อมูลคนพิการ
Social Security System Health Security Social Security Social Welfare
การกระจายของข้อมูลผู้พิการ ประกันสังคม ข้าราชการ UC ผู้พิการ รัฐวิสาหกิจ/ องค์กรอิสระ/ อื่นๆ
แนวทางการพัฒนาฐานข้อมูล Birth defects อดีต ปัจจุบัน เป็น Existing data Additional data ระบบลงทะเบียนใหม่ (หน่วยงานที่รับผิดชอบ) โปรแกรมเด็กแรกเกิด (ทะเบียนราษฎร์) ได้จากการ query data จากฐานข้อมูลการรักษา และฐานข้อมูลผู้พิการของ สปสช. ฐานทะเบียน Birth defects & disabilities
ประเด็นที่ต้องทำความเข้าใจ วัตถุประสงค์ของการทำโครงการนี้ : - รองรับยุทธศาสตร์การสร้างระบบหลักประกันสุขภาพปี 55-59 ประโยชน์ที่จะได้รับ : - การลงทะเบียนเข้า UC - การฉีดวัคซีนป้องกันโรคพื้นฐาน การสนับสนุน : - งบสนับสนุนการจัดการและติดตาม การเตรียมตัวของหน่วยบริการ - ความพร้อมเรื่องคอมพิวเตอร์ - คนบันทึกข้อมูล - พิจารณาสถานที่บันทึกข้อมูล : ห้องคลอด ห้องเวชระเบียน
Thank You