องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
Advertisements

วิสัยทัศน์ มุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพื้นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายด้านบริหาร.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ทิศทางการจัดสรร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปี 2551
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
แนวทางการบูรณาการ โครงการพัฒนาสุขภาพจิตใน เขต 11 และ 13 ประจำปีงบประมาณ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโพนทอง
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน สาธารณสุขหรือคุ้มครองผู้บริโภค เท่ากับจำนวนจังหวัด ในเขตพื้นที่ ( เดิมมี 2 คน )  เขตนำร่อง 2 ( นครชัยบุรินทร์ กทม.) เขต 11 เขต

อำนาจ หน้าที่ ที่เปลี่ยนแปลง และ ขยาย “ หลักประกันความมั่นคงด้าน สุขภาพ ” 1. ด้านการบริหาร จัดสรร ทรัพยากร ( คน เงิน บริการ ) สาธารณสุข และสุขภาวะของ ประชาชน 2. ด้านการพัฒนา ( สุขภาพชุมชน การมีส่วนร่วม ความยั่งยืน )  คนอายุต่างๆ  คนพิการด้อยโอกาส  กองทุนหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ อบต. เทศบาล

1. ด้านการบริหาร จัดสรร ทรัพยากร กองทุนที่ อปสข. มีอำนาจอนุมัติ หรือ พิจารณา หรือต้องผ่านรับทราบผล การดำเนินการ  งบผู้ป่วยนอก  บริการที่จ่ายแบบเหมาจ่ายต่อผู้มีสิทธิ  บริการที่จ่ายตามผลงานบริการ  ส่งต่อเฉพาะข้ามจังหวัด  งบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ ปฐมภูมิ  เกณฑ์ประเมิน  คณะทำงาน  ติดตามงานและผลการดำเนินการ

1. ด้านการบริหาร จัดสรร ทรัพยากร กองทุนที่ อปสข. มีอำนาจอนุมัติ หรือ พิจารณา หรือต้องผ่านรับทราบผล การดำเนินการ  งบบริการผู้ป่วยใน  กันเงินคุณภาพ 15 บาท  เป้าหมายเงิน และ DRG  กำหนดการจ่ายจูงใจ ( ตา หัวใจ ศูนย์ สำรองเตียง )  กำหนดเป็นอัตราเบื้องต้นจ่ายล่วงหน้า  งบสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค  แบบโรคที่ต้องการส่งเสริมป้องกันเด่นชัด  ที่จังหวัดแบบพื้นที่พิจารณา มาก่อน ให้ อปสข พิจารณา

1. ด้านการบริหาร จัดสรร ทรัพยากร กองทุนที่ อปสข. มีอำนาจอนุมัติ หรือ พิจารณา หรือต้องผ่านรับทราบผล การดำเนินการ  งบฟื้นฟูสมรรถภาพฯ  จ่ายอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ จุด จ่าย งบประมาณ ( เครื่องอุปกรณ์ เครื่องช่วยฟัง พิการทุกประเภท )  พัฒนาคุณภาพชีวิตและบริการคนพิการ ( กับเครือข่าย กับ อบจ.)  งบค่าเสื่อม ( จัดสรร เปลี่ยนแปลง รายการ )  รัฐ ( สังกัดกระทรวงสาธารณสุข นอก สังกัด )  เอกชนในเขต

1. ด้านการบริหาร จัดสรร ทรัพยากร กองทุนที่ อปสข. มีอำนาจอนุมัติ หรือ พิจารณา หรือต้องผ่านรับทราบผล การดำเนินการ  งบบริการควบคุมป้องกันโรคและรักษา โรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง  บริการคัดกรอง จัดการความเสี่ยง  การแบ่งแยกโรคและความเสี่ยงและการ จัดการที่ครอบครัวชุมชน  บริการเชื่อมต่อพัฒนาระบบ และ ศักยภาพ  ตา ไต ตีน  หัวใจหลอดเลือด  อาหาร โภชนาการ การปฏิบัติที่ดี

2. ด้านการพัฒนาที่ อปสข. ส่งเรื่อง เข้าในการประชุมฯ การก้าวสู่ ประชาคมสุขภาพ เพื่อการก้าวสู่ ประชาชนในสังคมโลก การก้าวสู่ สังคมที่พัฒนายั่งยืน  ผ่านท้องถิ่น ( อบจ. กองทุน หลักประกันสุขภาพ อบต. เทศบาล )  ผ่านเครือข่าย ประชาชน  ผ่านหน่วยบริการ วิชาชีพ  ผ่านประชาคม เครือข่ายต่างๆ เช่น 9 ด้านที่ระบุในกฎหมาย วิชาการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

2. ด้านการพัฒนาที่ อปสข. ส่งเรื่อง เข้าในการประชุมฯ การก้าวสู่ ประชาคมสุขภาพ เพื่อการก้าวสู่ ประชาชนในสังคมโลก การก้าวสู่ สังคมที่พัฒนายั่งยืน  การพัฒนาที่ยั่งยืน สร้างงาน สร้างอาชีพ สันติสุข และการดูแล กันและกัน ด้วยหัวใจความเป็น มนุษย์  แผนไทย การสาธารณสุขเพื่อการ ท่องเที่ยวและสปา  พิการ ( อบจ. พิจิตร )  ผู้สูงอายุ ( เขาบ่อแก้ว ) เด็กและ พัฒนาการเด็ก ( ศูนย์เด็กฯ )  ต้อกระจก SMBG ผู้ติดเชื้อ จิตเวช เนินมะกอก