การพัฒนาพื้นที่พิเศษ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
ประเด็นการตรวจติดตาม
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
แผนงาน/โครงการที่สำคัญของกรมส่งเสริมสหกรณ์
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
คุณสมบัติ ของ Smart Farmer -  1. รายได้ไม่ต่ำกว่า 180,000 บาท/ครัวเรือน/ปี  2. ผ่านคุณสมบัติพื้นฐาน (ผ่านอย่างน้อย 1 ตัวบ่งชี้ ของคุณสมบัติแต่ละด้าน)
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
แผนที่ตำบลหนองไฮ อำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอำนาจเจริญ
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
ศูนย์ข้าวชุมชนบ้านหมี่ ต.เขวา อ.เมือง จ.มหาสารคาม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
นายขจร เราประเสริฐ หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ข้าว
ผู้ช่วยเลขา สามารถจัดตั้งกองทุนพัฒนา อาชีพการเกษตร เพื่อช่วยเหลือ เกษตรกรเป็น แบ่งการบริหาร ลงในกลุ่มรับผิดชอบทั้งหมด 5 กลุ่ม คือ 1. กองทุนพันธุ์สัตว์
งบประมาณและเป้าหมายการปฏิบัติงาน โครงการภายใต้แผนการพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปี 2553 นายวิรัตน์ เพียรวิทยา ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ข้าว.
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
ระบบการติดตามและรายงาน โครงการในพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว ปี 2553
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ IMT - GT ในภาพรวม และ Best Practice IMT – GT Plaza แห่งแรก โดย นายสุกิตติ ธนพิทักษ์ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลา.
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
การดำเนินงาน เพื่อดูแลคุณภาพ ชีวิตเกษตรกร โดย นางสาวมยุรี บุญญาเสนีย์กุล นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 5 สำนักพัฒนาเกษตรกร กรม ส่งเสริมการเกษตร.
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลหนองข่า อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย อัมพร เหง้ากอก เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้

โครงการพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จวชต. โครงการฟื้นฟูพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว โครงการพัฒนาการผลิตข้าวในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้

1. โครงการฟื้นฟูพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว (งบปกติ) ดำเนินการในพื้นที่ประชาคม 696 หมู่บ้าน 1. ปัตตานี 1,210.75 ไร่ 250 ครัวเรือน 2. ยะลา 417.25 ไร่ 101 ครัวเรือน 3. นราธิวาส 563.75 ไร่ 124 ครัวเรือน 4. สตูล 950.50 ไร่ 230 ครัวเรือน 5. สงขลา 922.50 ไร่ 207 ครัวเรือน

วัตถุประสงค์ เพื่อปรับปรุงพื้นที่นาร้าง ให้สามารถกลับมาใช้ประโยชน์ 1 เพื่อปรับปรุงพื้นที่นาร้าง ให้สามารถกลับมาใช้ประโยชน์ ในการปลูกข้าวได้อย่าง มีประสิทธิภาพ และเพียงพอต่อการบริโภค 2 เพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการทำนา ควบคู่ไปกับการประกอบ อาชีพอื่นได้อย่างยั่งยืน

ปรับปรุงพื้นที่นาร้างให้เหมาะสม เป้าหมาย ปัตตานี 1,210.75 ไร่ ปรับปรุงพื้นที่นาร้างให้เหมาะสม ต่อการปลูกข้าว ในพื้นที่ 4,064.75 ไร่ ยะลา 417.25 ไร่ นราธิวาส 563.75 ไร่ สตูล 950.50 ไร่ สงขลา 922.50 ไร่

ผลที่คาดว่าจะได้รับ พื้นที่นาร้างได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถ ในการผลิตข้าวได้ 4,064.75 ไร่ 1 พื้นที่นาร้างที่ได้รับการปรับปรุงมีผลผลิตเฉลี่ย ไม่น้อยกว่า 400 กิโลกรัม/ไร่ 2 เกษตรกรไม่น้อยกว่า 912 คน ได้รับการถ่ายทอดความรู้ในการปลูกข้าวที่ถูกต้อง 3

กิจกรรมและปัจจัยการผลิต กรม พัฒนาที่ดิน ไถปรับพื้นที่ (ไถดะ ไถแปร คราด) ปรับปรุงดิน (ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ) กรม การข้าว สนันสนุนปุ๋ยเคมี 20 กก/ไร่ สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ข้าว 15 กก/ไร่ อบรมเกษตรกร 912 ราย กรม ส่งเสริมการเกษตร อบรมเกษตกรร่วมกับกรมการข้าว ปฏิบัติงานในพื้นที่

2. โครงการพัฒนาการผลิตข้าวในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (งบ SP2) โครงการพัฒนาระบบ การผลิตและกระจาย เมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี (ศูนย์ข้าวชุมชน) โครงการผลิตข้าว ปลอดสารพิษและข้าวอินทรีย์ของกลุ่มเกษตรกร จังหวัดสงขลาและจังหวัดสตูล

ศูนย์ข้าวชุมชน 15 ศูนย์ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวปัตตานี สงขลา 2 ศูนย์ ศูนย์ข้าวชุมชน 15 ศูนย์ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวปัตตานี สงขลา 2 ศูนย์ ยะลา 2 ศูนย์ ศูนย์วิจัยข้าวปัตตานี ปัตตานี 4 ศูนย์ นราธิวาส 5 ศูนย์ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวพัทลุง สตูล 4 ศูนย์

วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้ชาวนา มีการผลิตและกระจาย 1 เพื่อส่งเสริมให้ชาวนา มีการผลิตและกระจาย เมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีไว้ใช้อย่างเพียงพอและต่อเนื่อง 2 เพื่อเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาชาวนาให้มีความสามารถ ในการผลิตและการตลาดข้าวเป็นชาวนามืออาชีพ รวมทั้งสร้างเครือข่ายที่เข้มแข็ง

จัดตั้งศูนย์ข้าวชุมชน จำนวน เป้าหมาย ปัตตานี 4 ศูนย์ จัดตั้งศูนย์ข้าวชุมชน จำนวน 15 ศูนย์ ยะลา 2 ศูนย์ นราธิวาส 5 ศูนย์ สตูล 2 ศูนย์ สงขลา 2 ศูนย์

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. มีเมล็ดพันธุ์ดี ศูนย์ละ 50 ตัน สำหรับกระจายพันธุ์ในฤดูต่อไป ในพื้นที่ 2,600 ไร่ 2. เกษตรกรที่มีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีศูนย์ละ 20 ราย มีรายได้ เพิ่มขึ้น 3. เกษตรกรที่รับการกระจายพันธุ์ข้าวพื้นที่ 2,600 ไร่ต่อศูนย์ ในปีต่อไป ลดต้นทุนการผลิตลงไม่น้อยกว่าไร่ละ 1,000 บาท 4. องค์กรเกษตรกรผู้ปลูกข้าวมีความเข้มแข็ง จำนวน 15 ศูนย์

ปัจจัยการผลิต เมล็ดพันธุ์ข้าว 44,760 กิโลกรัม เมล็ดพันธุ์ข้าว 44,760 กิโลกรัม กระสอบบรรจุเมล็ดพันธุ์ 22,500 ใบ มุ้งไนล่อน 180 ม้วน ปุ๋ยเคมี 51 ตัน

กิจกรรมศูนย์ข้าวชุมชน จัดเวทีชุมชน 1 วิเคราะห์เมล็ดพันธุ์ 2 ประชุมกรรมการ ศขช. ระดับจังหวัด 3 อบรมชาวนาจัดทำแปลง 4 อบรมชาวนาชั้นนำ 5 ติดตามนิเทศงานและ GAP Seed 6

ศูนย์วิจัยข้าวปัตตานี โครงการผลิตข้าวปลอดสารพิษและข้าวอินทรีย์ ของกลุ่มเกษตรกรจังหวัดสงขลาและจังหวัดสตูล ศูนย์วิจัยข้าวปัตตานี จ.สงขลา 428 ไร่ ต.กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ 100 ไร่ ต.น้ำขาว อ.จะนะ 328 ไร่ จ. สตูล 213 ไร่ ต.แป-ระ อ.ท่าแพ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวพัทลุง

วัตถุประสงค์ เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรสามารถผลิต ข้าวปลอดสารพิษและข้าวอินทรีย์ได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานสากล เพียงพอในครัวเรือนและสามารถจำหน่ายเป็นสินค้าคุณภาพของจังหวัดได้

เป้าหมาย พัฒนากลุ่มเกษตรกร ผลิตข้าวปลอดสารพิษและข้าวอินทรีย์ได้ ผู้ปลูกข้าวให้เป็น กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิต ข้าวปลอดสารพิษและ ข้าวอินทรีย์ในพื้นที่ จ.สงขลา และ จ.สตูล จำนวน 641 ไร่ ผลิตข้าวปลอดสารพิษและข้าวอินทรีย์ได้ อย่างน้อย 250 ตัน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1 ผลิตข้าวปลอดสารพิษและข้าวอินทรีย์ได้อย่างถูกต้องตามหลักสุขอนามัยและมาตรฐานสากล เป็นสินค้าอาหารปลอดภัย (Food Safety) จำนวนอย่างน้อย 250 ตัน 2 เกษตรกรสามารถจำหน่ายข้าวปลอดสารพิษและข้าวอินทรีย์ได้ราคาสูงกว่าข้าวทั่วไปอย่างน้อย 20 % 3 กลุ่มเกษตรกรในโครงการสามารถบริหารจัดการองค์กรได้ด้วยตนเองอย่างน้อย 3 กลุ่ม 4 เกษตรกรบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้องและยั่งยืนสืบไป www.themegallery.com Company Logo

สวัสดีครับ