ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์รายงานสถานการณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
Advertisements

การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
ไข้เลือดออก.
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บ
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 พค 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 สิงหาคม 2551 สัปดาห์ที่ 32_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 กุมภาพันธ์ 2551 สัปดาห์ ที่ 6_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม – 10 พฤษภาคม 2551 สัปดาห์ที่ 19_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
ปัญหาสุขภาพจิตและ ฆ่าตัวตายจังหวัดเชียงราย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
จำนวนผู้ป่วยไข้ปวดข้อยุงลาย (CHIKUNGUNYA) แยกรายอำเภอ ของจังหวัดตรัง พ. ศ.2552.
ไข้เลือดออก.
โรคที่ต้องควบคุมโรคอย่างเร่งด่วน ประจำเดือนตุลาคม 2549 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ประชุม WARROOM จังหวัดนครปฐม 10 สิงหาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
รายงานการเฝ้าระวังโรคช่วงสถานการณ์อุทกภัย จังหวัดนครปฐม 21 พฤศจิกายน 2554 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมกราคม 2555 นำเสนอวันที่ 31 มกราคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน พฤษภาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ข้อมูล ณ 20 มิถุนายน 2550 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน ตุลาคม 2556 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนเมษายน 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนพฤษภาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม กรกฎาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2551 Darunee Phosri :
ระบาดวิทยาและ SRRT.
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์รายงานสถานการณ์ โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (R506 GIS) สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่

ที่มา… ทำอย่างไรบุคลากรสาธารณสุขทุกระดับ ในเขต สคร. 10 เชียงใหม่ ที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังโรคจะสามารถใช้ข้อมูลหรือสารสนเทศจากฐานข้อมูล R506 (Information Sharing) ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ?

เงื่อนไข ? ต้องสามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ ทุกเวลา(Easy To Access) ต้องสามารถนำเสนอข้อมูลหรือสารสนเทศทั้งในเชิงพื้นที่และแผนภูมิ(Easy To Use) ต้องไม่สร้างข้อมูลหรือสารสนเทศขึ้นมาใหม่(No Reproduce) ต้องเป็นข้อมูลที่ถูกต้องเหมาะสม(Valid),ครบถ้วน (Complete) และเป็นปัจจุบัน(Up to date)

ข้อมูล ข้อมูล EPE0 จากโปรแกรม R506 ข้อมูลประชากรแยกกลุ่มอายุ และทั้งหมด ระดับ จังหวัด อำเภอ และ ตำบล ข้อมูลแผนที่ แสดงขอบเขตที่แสดงถึงจังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน

ผลการดำเนินงาน http://dpc10.ddc.moph.go.th/

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการเฝ้าระวังควบคุมโรค สคร 10 เชียงใหม่

เลือกพื้นที่ (Drill Down) ส่วนกำหนดเงื่อนไข ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์รายงานสถานการณ์โรคในระบบเฝ้าระวัง (รง.506) Navigator (Roll Up) เลือกพื้นที่ (Drill Down) ส่วนกำหนดเงื่อนไข คำอธิบายสัญลักษณ์ ส่วนแสดงแผนที่ ตารางและแผนภูมิ

ส่วนกำหนดเงื่อนไขการแสดงผล เลือกดูข้อมูลโรคที่สนใจ เลือกข้อมูลตามตัวชี้วัด วิเคราะห์ข้อมูลเป็นรายสัปดาห์

สัญลักษณ์แผนที่บอกระดับจำนวนผู้ป่วย มีการเปลี่ยนระดับขึ้นอยู่กับข้อมูล โดยใช้ค่า (สูงสุด-ค่าต่ำสุด)/5 แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ส่วนที่ไม่มีข้อมูลจะเป็นสีขาว แสดงเป็นจุดในมุมมอง หมู่บ้าน แสดงเป็นแถบสี ในมุมมอง เขตสคร ,จังหวัด, อำเภอ และ ตำบล

ตัวอย่าง เลือกดูข้อมูลโรค D.H.F,Total(26,27,66)(รวม) เลือกตัวชี้วัด อัตราป่วยต่อ ปชก.แสนคน ช่วงเวลา ปี 2556 สัปดาห์ที่ 21 ถึง 35

ข้อมูลเชิงพื้นที่

รายงานตารางสรุปรวม โรค D.H.F,Total(26,27,66)(รวม) ปี 2556 สัปดาห์ที่ 21 ถึง 35 พื้นที่เขต สคร. 10 ผู้ป่วยรวมทั้งหมด 23,810 ราย คิดเป็น อัตราป่วยต่อปชก.แสน 414.09 สูงสุดคือ จ.เชียงราย 9,604 ราย จำนวนผู้ป่วยตาย รวม 15 ราย สูงสุดคือ จ.เชียงราย 9 ราย จำนวนประชากรรวมทั้งสิ้นประมาณ 5,749,913 สูงสุดคือ จ.เชียงใหม่ 1,670,317

อัตราป่วยสูงสุดคือ จ.เชียงราย (782.52) ต่ำสุดคือ จ.น่าน (123.53) รายงานเปรียบเทียบรายพื้นที่ อัตราป่วยต่อ ปชก.แสนคน โรค D.H.F,Total(26,27,66)(รวม) ปี 2556 สัปดาห์ที่ 21 ถึง 35 พื้นที่เขต สคร. 10 รายจังหวัด อัตราป่วยสูงสุดคือ จ.เชียงราย (782.52) ต่ำสุดคือ จ.น่าน (123.53)

รายงานตามกลุ่มอายุ อัตราป่วยต่อ ปชก.แสนคน โรค D.H.F,Total(26,27,66)(รวม) ปี 2556 สัปดาห์ที่ 21 ถึง 35 พื้นที่เขต สคร. 10 อัตราป่วยสูงสุดในช่วงอายุ 15-24 ปี (661.66) รองลงมาคือ 10-14 ปี (638.22)

รายงานรายอำเภอ 10 อันดับแรก อัตราป่วยต่อ ปชก.แสนคน โรค D.H.F,Total(26,27,66)(รวม) ปี 2556 สัปดาห์ที่ 21 ถึง 35 พื้นที่เขต สคร. 10 รายอำเภอ 10 อันดับแรก อัตราป่วยสูงสุดคือ อ.แม่สาย จ.เชียงราย (1596.66) รองลงมาคือ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย (1277.04)

อัตราป่วยสูงสุดสัปดาห์ที่ 27-28-29 รายงานแนวโน้มรายสัปดาห์ อัตราป่วยต่อ ปชก.แสนคน โรค D.H.F,Total(26,27,66)(รวม) ปี 2556 สัปดาห์ที่ 21 ถึง 35 พื้นที่เขต สคร. 10 อัตราป่วยสูงสุดสัปดาห์ที่ 27-28-29

อัตราป่วยสูงสุดเดือนกรกฎาคม รายงานแนวโน้มรายเดือน อัตราป่วยต่อ ปชก.แสนคน โรค D.H.F,Total(26,27,66)(รวม) ปี 2556 พื้นที่เขต สคร. 10 อัตราป่วยสูงสุดเดือนกรกฎาคม

อัตราป่วยปี 2556 สูงสุดในรอบ 10 ปี รายงาน Trend 10 ปี อัตราป่วยต่อ ปชก.แสนคน โรค D.H.F,Total(26,27,66)(รวม) พื้นที่เขต สคร. 10 อัตราป่วยปี 2556 สูงสุดในรอบ 10 ปี

การออกรายงานเป็น Ms Excel

การออกรายงานเป็น Ms Excel

Drill Down & Roll Up

Drill Down เป็นการเพิ่มรายละเอียดในการพิจารณาข้อมูลจากระดับ ที่หยาบไปสู่ระดับที่ละเอียดที่มากขึ้น การดูข้อมูลสรุปในแต่ละพื้นที่ สคร.10 >> จังหวัด>>อำเภอ>>ตำบล >>หมู่บ้าน

Roll up / Consolidation เป็นกระบวนการตรงกันข้ามกับ Dill Down หมายถึงการเปลี่ยนแปลงระดับความละเอียดของการพิจารณาข้อมูล จากระดับที่ละเอียดขึ้นมาสู่ระดับที่หยาบมากขึ้น หมู่บ้าน >> ตำบล>>อำเภอ>>จังหวัด>>สคร. 10 โดยการคลิกที่แถบ นำทาง (Navigator)

Drill Down & Roll Up เขต สคร. 10

Drill Down & Roll Up เขตตรวจราชการที่ 16

Drill Down & Roll Up จ.เชียงราย

Drill Down & Roll Up อ.แม่สาย จ.เชียงราย

Drill Down & Roll Up ต.เวียงพางคำ อ.แม่สาย จ.เชียงราย

ประโยชน์ที่จะได้รับ เจ้าหน้าที่ สคร.10 จังหวัดเชียงใหม่ ความรู้ความสามารถในการนำเสนอข้อมูลทางระบาดวิทยาด้วยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์(Geographic Information System-GIS.) ได้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์(Geographic Information System-GIS.) ด้านระบาดวิทยาของ สคร. 10 เชียงใหม่

ประโยชน์ที่จะได้รับ (ต่อ) มีการนำเสนอข้อมูลหรือสารสนเทศด้านระบาดวิทยาโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ให้กับบุคลากรสาธารณสุขในเขต สคร.10 เชียงใหม่ อย่างครบถ้วน ทันเวลาและเป็นปัจจุบัน

รายละเอียดเพิ่มเติม ajarn.veerapong@gmail.com