-เครื่องมือสำหรับการรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ - ไฟรว์วอลล์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Workshop. Workshop 1 • แบ่งกลุ่มนักศึกษาเป็น 4 กลุ่ม ในฐานะที่กลุ่มของท่านเป็นผู้บริหาร ระดับกลาง ได้รับมอบหมายจาก ผู้บริหารระดับสูงให้ทำการพัฒนา ปรับปรุงระบบงานสารสนเทศในความ.
Advertisements

ระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
บทที่ 2 หลักการควบคุมภายใน
การดูแลรักษาความปลอดภัย ของเครื่องคอมพิวเตอร์
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
แม่ครูชมัยพร โครตโยธา
คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 9 การเลือกซื้อใช้งาน และ การติดตั้ง อุปกรณ์เครือข่าย
Accessing the Internet
บทที่ 9 นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศในอนาคต
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime)
ซอฟต์แวร์.
SECURITY ON THE INTERNET.
TelecommunicationAndNetworks
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
มาตรการป้องกัน.
การรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศ
โครงสร้างสำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ
การจัดการองค์ความรู้ การจัดการความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศูนย์สารสนเทศ.
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ไวรัสคอมพิวเตอร์คืออะไรมาจากไหน ?
การปรับปรุง และพัฒนางาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การบริหาร และการจัดการเพื่อลดความเสี่ยง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
CSC431 Computer Network System
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
การบริหารจัดการระบบเครือข่าย (Network Management)
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
ความต้องการเชิงคุณภาพ (Qualitative Requirements)
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
Geographic Information System
: information security (ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ)
บุคลากรคอมพิวเตอร์.
: information security (ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ)
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
บริการ ICT ที่เป็นเลิศและเข้าถึงได้
เรื่อง คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
กลุ่ม A3 ข้าวนก.
วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจมาตรการความปลอดภัยขั้นพื้นฐาน
Information Technology : IT
การวางแผนยุทธศาสตร์.
กระบวนการทำงานและบุคลากร
ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย
บทที่ 12 ฐานข้อมูล.
เรื่องแจ้งจากกลุ่มงานทันต สาธารณสุข (4 ก. พ.2557)  ผลงาน QOF ทันตกรรม 2 เรื่อง  งานบริการทันตกรรมที่ผู้ตรวจ ราชการให้ความสำคัญ.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
ภัยจากเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรของหน่วยงาน
1. ไม่ควรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ 2. ไม่บิดเบือนความถูกต้องของข้อมูล ให้ผู้รับคนต่อไป ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง 3. ไม่ควรเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต.
เนื่องจากในปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีการ เชื่อมโยงกันทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ย่อมมีข้อมูลสารสนเทศที่ส่งผ่าน จากผู้ส่ง ไปยัง ผู้รับ และหากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น.
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
แผนภูมิองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

-เครื่องมือสำหรับการรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ - ไฟรว์วอลล์ กลุ่มที่4 -เครื่องมือสำหรับการรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ - ไฟรว์วอลล์ ผู้จัดทำ นางสาวจิราภา ทองห้าว 55222470103 นายทรงชัย เชื้อเมืองฝาง 55222470106

การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลสารสนเทศ การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลสารสนเทศ  การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลสารสนเทศด้วยวิธีการเชิงกายภาพ –  การกำหนดสิทธิในการเข้าใช้ห้องเก็บข้อมูล – การติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยของห้องเก็บข้อมูล การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลสารสนเทศด้วยวิธีการเชิงตรรกะ – การเข้ารหัสข้อมูล –  การกำหนดให้ผู้ใช้ข้อมูลมีรหัสผ่านเพื่อการเข้าถึงข้อมูลได้ –  การกำหนดสิทธิในการเข้าใช้ข้อมูลสารสนเทศที่แตกต่างกัน

การรักษาความปลอดภัยของระบบเครือข่าย หมายถึง – การรักษาความปลอดภัยของการเข้าใช้ข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่บนระบบเครือข่ายนั้นๆ – การรักษาไว้ซึ่งประสิทธิภาพการส่งข้อมูลให้มีอัตราส่งคงที่ รวดเร็วและมีความถูกต้อง – การป้องกันการแพร่กระจายของไวรัสคอมพิวเตอร์ และสิ่งแปลกปลอมต่างๆ เช่น สแปมเมล์ (spam mail) โฆษณา เป็นต้น

การรักษาความปลอดภัยของระบบเครือข่าย มี 2 ประเภท – การรักษาความปลอดภัยเชิงกายภาพ – การรักษาความปลอดภัยเชิงตรรกะ

การรักษาความปลอดภัยของระบบเครือข่าย 1.) การรักษาความปลอดภัยเชิงกายภาพ ตัวอย่าง – การใช้เครื่องมือตรวจวัดสภาพการสื่อสาร ณ อุปกรณ์เชื่อมต่อระบบเครือข่ายเพื่อบ่งบอกถึงสิทธิการ เข้าสู่ระบบเครือข่ายของบุคลากรแต่ละคน  อุปกรณ์ –  อุปกรณ์เราว์เตอร์ 2.) การรักษาความปลอดภัยเชิงตรรกะ – ซอฟต์แวร์เพื่อการบริหารจัดการระบบเครือข่าย (Network Management Software) – ไฟล์วอลล์ (firewall) การกำหนดเลือกว่าวิธีใดเป็นวิธีที่เหมาะสม จะต้องคำนึงถึงปัจจัย –  ระดับความวิกฤติหรือความเสียหายที่จะเกิดขึ้นหากมีการบุกรุกเครือข่าย –  งบประมาณการดำเนินการจัดหา ติดตั้ง และบำรุงรักษา – ความพร้อมด้านบุคลากรในองค์กร

Firewall หมายถึง Firewall เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับ "ป้องกันผู้บุกรุกระบบ" ในเครือข่าย (Network) โดยทำหน้าที่เป็นตัวคั่นกลางระหว่าง Network ที่เราต้องการ จะปกป้อง กับ Network ที่เราไม่ไว้ใจ ตามกฎ(Rule)หรือนโยบาย (Policy)ที่ผู้ดูแลระบบ(Admin)ได้ตั้งไว้

คุณสมบัติของ Firewall Protect Firewall เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการป้องกัน โดยข้อมูลที่เข้า-ออก Network จะถูกกำหนดเป็น Rule หรือ Policy เพื่อใช้บังคับในการ สื่อสารภายใน Network Rule Base หรือ Policy คือข้อกำหนดในการควบคุมการเข้า-ออกของ ข้อมูลภายใน Network Access Control คือการควบคุมระดับการเข้าถึงข้อมูลต่างๆใน Network 

ผลได้ที่     Firewall ไม่สามารถป้องกันระบบได้ 100 %  เพราะขึ้นอยู่กับว่า Policy ที่ผู้ดูแลระบบตั้งไว้นั้นครอบคลุมช่องโหว่หรือปัญหาต่างๆได้มากน้อยแค่ไหน Firewall ไม่ได้ฉลาด มันไม่สามารถทำงานหรือวิเคราะห์ปัญหาต่างๆได้เอง โดยอัติโนมัติ  มันเป็นแค่เครื่องมือที่คอยรับคำสั่งและปฏิบัติตาม Policy ที่ผู้ดูแล ระบบได้ตั้งไว้อย่างเคร่งครัดเท่านั้น  ซึ่งหาก Policy นั้นมีข้อบกพร่อง หรือมีช่อง โหว่  ก็อาจทำให้ระบบนั้นถูกโจมตีได้         Firewall ไม่สามารถแจ้งเตือนจากการโจมตีได้  เพราะมันมีหน้าที่แค่อนุญาต ให้ Packet ผ่านไปได้หรือไม่ได้เท่านั้น เพราะถ้าให้ผ่านไปแล้ว Packet นั้น เป็นอันตรายต่อระบบ ก็จะถือว่าเป็นข้อผิดพลาดที่ Policy ของผู้ดูแลระบบเอง

ตัวอย่างการทำงานและการตัดสินใจของ Firewall ยี่ห้อ NetScreen