FC 001 หลักการพัฒนาชุมชน (Principle of Community Development) ระดับ 1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย ฝ่ายติดตามนโยบาย ก้อย หนิง แก้ว. ประเด็นการศึกษา.
Advertisements

จัดการความรู้/มุมมองแนวคิด CoP
Community of Practice ชุมชนนักปฏิบัติ.
หน้าที่ของผู้บริหาร.
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
เศรษฐกิจพอเพียง.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
HR Way Organization Chart HRM HR Strategy Job Description HR Scorecard
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
PresentBySamurai กลยุทธการบริหารความรูของ Microsoft.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การจัดการศึกษาในชุมชน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
รศ.ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ 18 ตุลาคม 2551
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การเตรียมความพร้อมของสาขาบริการสุขภาพ
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การวัดผล (Measurement)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
รูปแบบการสอน.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน รายวิชาการจัดทำโครงงานด้วยกล่องสมองกล ช่วงชั้นที่ 4 ความหมาย กิจกรรมโครงงาน เป็นกิจกรรมที่เน้นกระบวนการโดยนักเรียนเป็นผู้คิดค้น.
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
การกำหนดเป้าหมายของ การจัดค่าย - เกิดประโยชน์และเป็นไปได้จริง - เป็นแนวคิดใหม่ๆ ที่เด็กสนใจ - สอดคล้องเชื่อมโยงกับ สถานการณ์แบะแนวโน้มสังคม ระดับประเทศ.
John Dewey Learning by Doing โดย...นางดารุณี ประพันธ์
บทที่ 4 หลักและวิธีการพัฒนาชุมชน
การประกวดแข่งขันผลงานวิจัย และนวัตกรรมสื่อสารสอนทางอาชีวศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
อุดมการณ์ และจิตวิญญาณ ของความเป็นครู.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

FC 001 หลักการพัฒนาชุมชน (Principle of Community Development) ระดับ 1

ความหมายของการพัฒนา ชุมชน องค์การสหประชาชาติ ได้นิยาม ดังนี้ การ พัฒนาชุมชนเป็นกระบวนการซึ่งประชาชน ทั้งหลายได้พยายามรวบรวมกันทำเองและมา ร่วมกับเจ้าหน้าที่ของรัฐบาลเพื่อทำให้สภาพ ของเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของชุมชน นั้นเจริญดีขึ้น และผสมผสานชุมชนเหล่านั้นเข้า เป็นชีวิตของชาติและเพื่อทำให้ประชาชน สามารถอุทิศตนเพื่อความเจริญของชาติอย่าง เต็มที่

ปรัชญางานพัฒนาชุมชน 1. มนุษยทุกคนมี เกียรติและศักดิ์ศรี ในความเปนคน 2. มนุษยทุกคนมี ความสามารถ หรือ มีศักยภาพ 3. ความสามารถของ มนุษยสามารถ พัฒนาไดถามี โอกาส

แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนา ชุมชน แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนา ชุมชน 1. การมีสวนรวมของประชาชน (People Participation) 2. การชวยเหลือตนเอง (Aided Self – Help) 3. ความคิดริเริ่มของประชาชน (Initiative) 4. ความตองการของชุมชน (Felt – Needs) 5. การศึกษาภาคชีวิต (Life – Long Education)

หลักการดำเนินงานพัฒนา ชุมชน 1. ยึดหลักความมีศักดิ์ศรี และศักยภาพของ ประชาชน และเปดโอ กาสให้ประชาชนใช ศักยภาพที่มีอยูให มากที่สุด 2. ยึดหลักการพึ่งตนเอง ของประชาชน 3. ยึดหลักการมีสวนร วมของประชาชน 4. ยึดหลักประชาธิปไตย

กระบวนการทำงานพัฒนา ชุมชน 1. การศึกษาชุมชน 2. การให้การศึกษาแก่ชุมชน 3. การวางแผน / โครงการ เปนขั้นตอนให ประชาชนรวมตัดสินใจ และกําหนด โครงการ เปนการนําเอาปญหาที่ ประชาชนตระหนัก 4. การดําเนินงานตามแผนและโครงการ 5. การติดตามประเมินผล

ยุทธศาสตร์ และทิศทางการ ทำงาน ของกรมฯ เกี่ยวกับงานพัฒนาชุมชน

บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ พัฒนาชุมชน เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง เป็นนักรวมกลุ่ม เป็นผู้ให้การศึกษา เป็นผู้กระตุ้นเตือนยั่วยุ เป็นผู้ประสานงาน เป็นตัวเชื่อม เป็นผู้สื่อความคิดติดต่อ

เครื่องมือการพัฒนาชุมชน กระบวนการพัฒนาชุมชน การจัดการประชุมแบบมีส่วนร่วม เทคนิคส่งเสริมการมีส่วนร่วม วิทยากรกระบวนการ

บทบาทวิทยากรกระบวนการ 1. บทบาทดานการเตรียมการ คือ การเตรียมตนเอง แหลงขอมูล กิจกรรมการเรียนรู สื่ออุปกรณ การเตรียมการวัด และประเมินผล เปนตน 2. บทบาทดานการดําเนินการ ประกอบดวย การเป นผูนําเสนอ ผูชวยการสื่อสารชวยเหลือให คําแนะนํา ปรึกษา การเปนผูกระตุนจูงใจ การเป นผูสังเกต เปนผูรวมกิจกรรม การเปนผู ประสานงาน เสริมบรรยากาศอบอุนเปนมิตร การเป นผูวิเคราะห สรุปประเด็น สังเคราะห เชื่อมโยง ประเด็นใหเปนไปตาม.. มติกลุม 3. บทบาทดานการประเมินผล เพื่อตรวจสอบวา สามารถจัดกิจกรรมบรรลุตามวัตถุประสงคการเรียนรู หรือไม และตองใหกลุมและสมาชิกมีบทบาท ในการวัดและประเมินผลวิทยากรกระบวนการ และกลุ มดวย

คุณสมบัติของวิทยากร กระบวนการที่ดี มีทักษะการสื่อสารที่ดี มีทักษะการฟง มีความสามารถในการตั้งคําถามเชิงสรางสรรค มีความยืดหยุน มีความปรารถนาอยางแรงกลาที่จะทําใหเกิด การเรียนรู มีความสามารถในการใชกิจกรรมสอดแทรกใน จังหวะเวลาที่เหมาะสม มีความสามารถในการสรางบรรยากาศสนับสนุน ซึ่งกันและกัน มีความสามารถในการสรุป และเชื่อมโยงใหเห็น ภาพรวม เชื่อในศักยภาพของผูดอยโอกาส เคารพใน ศักดิ์ศรี ความเปนมนุษยของทุกคน ตองการ เห็นผูอื่นมีความสามารถในการเรียนรู้