กลไกขับเคลื่อนDHS สู่ปฎิบัติ “ฝันให้ไกล ตั้งใจไปให้ถึง”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
Advertisements

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ/ตำบล มุ่งสู่ คปสอ./รพ.สต.ติดดาว
ภารกิจนักสุขภาพครอบครัว
พื้นที่รับผิดชอบของ นสค.
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
เร่งรัดปฐมภูมิด้วย รพสต/ศสมแรงหนุนDHSเสริม IT
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
สรุปการประชุม เขต 10.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
“เบาหวาน ความดัน ดูแลถ้วนทั่วด้วยหมอครอบครัว” รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
บริการปฐมภูมิเข้มแข็ง
“ประชาชนมีญาติเป็นหมอ” หมอครอบครัวประจำตัวทุกครัวเรือน
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลไกขับเคลื่อนDHS สู่ปฎิบัติ “ฝันให้ไกล ตั้งใจไปให้ถึง” ปฐมภูมิเข้มแข็ง “ฝันให้ไกล ตั้งใจไปให้ถึง” นพ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข วันพุธที่ 23 มกราคม 2556

ตัวชี้วัดผลสำเร็จ DHS “ประชาชนทุกครัวเรือนมีหมอใกล้บ้านใกล้ใจ ติดต่อได้ทุกเวลา ที่มา:นำเสนอที่ประชุมผู้บริหารกระทรวงฯ 9 ม.ค.56 2

กับดักการขับเคลื่อน DHS สู่เขตบริการ Strategic Planning กับดักการขับเคลื่อน DHS สู่เขตบริการ ขาดข้อมูลที่ถูกต้อง เห็นข้อมูลไม่เท่ากัน วิเคราะห์ก็คลาดเคลื่อน ขาดใจมุ่งมั่น พลังถดถอย แผนรุกแปลงเป็นแผนรับ “การปฏิบัติสำคัญกว่าวางยุทธศาสตร์” (Lawrence G. Hrebiniak)

Value Chain การขับเคลื่อน DHS สู่พื้นที่ Key Success Factors Time frame Project/Activity KPI&Target Strengthening รพ.สต./หน่วยปฐมภูมิ 1. รพ.สต./ศสม. คุณภาพ 2. นสค. ดูแลประชากร 1: 1250 คน 3. ทุติยภูมิ/ตติยภูมิส่งต่อคุณภาพ ม.ค.56 – ปรับโครงสร้างบริการ มี.ค.56 –สรุปผลงาน&มีข้อเสนอการพัฒนาแบบต่อเนื่อง ? ร้อยละของของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยง ระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ Empower นสค. “ ครบถ้วน ครบคน ครบเวลา” 4.ค่าตอบแทน ตามภาระงาน 5. อำนาจการตัดสินใจดูแลประชากร 6. มีตัวช่วย Note Book,Pro.มือถือ ม.ค.56 – ประชุมสื่อสารนโยบายแก่ผู้ปฏิบัติในพื้นที่และกำหนดโครงการพื้นที่ มี.ค. 56 – เริ่มโครงการพัฒนาการจัดการระบบงานในพื้นที่ ร้อยละของประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง (ไม่น้อยกว่า 90) ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ไปรับการรักษาที่ ศสม./รพ.สต. (มากกว่าร้อยละ 50) Commitmentผู้นำเติมทรัพยากรเต็มที่ 7. จัดสรรพยาบาลใน รพ.สต.ให้เต็ม (ตามมติประชุมผู้บริหาร 9 ม.ค.56) 8. จัดหมอที่ปรึกษา 1 หมอ 1 รพ.สต.ให้ครบปี 56 พ.ย.55 – รูปแบบ&คู่มือ(โปรแกรม) ธ.ค.55 - ชี้แจง&จัดทำ 3 แผนพัฒนากำลังคน (รพศ./รพท./รพช./รพ.สต.) พ.ย.55 – มีและใช้แผนกมีและใช้แผนจัดการแนวใหม่ ? ลดค่าใช้จ่ายเดินทางผู้ป่วยและญาติ (ให้ได้ร้อยละ 10) ลดความรุนแรงโรคเบาหวาน ความดันฯ (ให้ได้ร้อยละ 50) Networking กรม/หน่วยงานอื่นๆ. 9. กรมเติมทักษะ 5 เสือปฐมภูมิระดับพื้นที่ 10.สร้างเครือข่ายวิชาการกับหน่วยงานวิชาการ ธ.ค.55 -มีและใช้แผนงานระดับเขตและจังหวัด (ตามกรอบนโยบายและ KPI) ? ร้อยละของผู้สูงอายุ ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง(เท่ากับ 90 ) IT management เชื่อมโยง ครอบคลุม 11. เชื่อมข้อมูล(43แฟ้ม)Health Data center 12. ใช้ GIS ค้นหาพิกัดหลังคาเรือนประชาชน 13 .นสค.บริการแบบ One stop service บริการ บันทึกข้อมูลเสร็จสิ้นในขั้นตอนเดียวกัน ก.ย.56 ปรับปรุง ระบบ Data Center ครบวงจร ภายในปี 2556 ●ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส และลดเสี่ยง (ไม่น้อยกว่า 50) ?

All people เป้าหมาย DHS “ครบทุกคน ครบทุกที่ ครบทุกประเด็น” D:พิการ C:เด็ก A:ตั้งครรภ์ O:ผู้สูงอายุ N:โรคเรื้อรัง “ครบทุกคน ครบทุกที่ ครบทุกประเด็น”

7 : 9,000

ประชากรที่ตนเอง ต้องดูแลใกล้ชิด 1 : 1,250

การเชื่อมโยงเครือข่ายปฐมภูมิ (แพทย์ นสค. และ อสม.) ดูแลประชาชน 55 ล้านคน 1 ... ... ... อสม นสค. ... 1,250 1 1:25 20 15 1:12 2 แพทย์ 1 ... 1 1:12 ... ... ... 1 ... 1:25 15 1,250 20 1:12 2 1 ... 1 1 ... ... 1:25 ... 15 1,250 20 2 8 1

ปรึกษาทางไกล พึ่งได้เหมือนญาติ C = Consultation 24x7 1:1250 1:12:15000 นสค. แพทย์เวชศาสตร์ ครอบครัว นสค. แพทย์เวชศาสตร์ ครอบครัว แพทย์เฉพาะทาง แพทย์เฉพาะทาง ประชาชน ประชาชน 3,500 55 ล้าน 44,000 “ หมอครอบครัว ประจำตัวทุกครัวเรือน”

ข้อตกลงเบื้องต้น 1 .เจ้าหน้าที่ ออกงานเชิงรุกชุมชนดูแล 1:1250 คน 2 .ทำงานเป็นทีม รพสต.ดูแลประชากรเครือข่ายตำบล 5,000-10,000คน 3 ทุกคนมีข้อมูลปชก. 1250 คน บันทึกใน Notebook หรือ IT อื่นๆ ครบถ้วน 4. ออกปฏิบัติงานเชิงรุกมี 3 ประเภท 4.1 ออกเยี่ยมเยียนดูแลทุกปัญหาแบบบูรณาการ 4.2 ออกเยี่ยมทีมเล็ก (1-2 คน) เพื่อให้คำแนะนำติดตามช่วยเหลือ แก้ปัญหา ประสานงาน อปท. ประสานชุมชน ประสานการรณรงค์ต่างๆ 4.3 ออกเยี่ยมเยียนแบบบูรณาการ มีการติดตามดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง ติดเตียง โดยสหวิชาชีพ ซึ่งเจ้าหน้าที่ที่เป็นนักสุขภาพครอบครัว

ประชากรที่ตนเองต้องดูแลใกล้ชิด 1.ด.ช. ………. 2.ด.ช. ………. 3.ด.ช. ………. 0-6 ปี 1.. ………. 2.. ………. 3.. ………. จำนวนศูนย์เด็กเล็ก 1.. ………. 2.. ………. 3.. ………. 7-18 ปี จำนวน อสม. 1.. ………. 2.. ………. 3.. ………. หญิงตั้งครรภ์และเด็กคลอด 1.. ………. 2.. ………. 3.. ………. 19-60 ปี 1.. ………. 2.. ………. 3.. ………. มากกว่า 60 ปี ผู้ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ 1. ………. 2. ………. 3. ………. 1.. ………. 2. ………. 3.. ………. ผู้พิการ ผู้ป่วยเบาหวาน 1.. ………. 2.. ………. 3. ………. 1.. ………. 2.. ………. 3.. ……….

จำนวนประชากรที่ดูแลใกล้ชิด 1.ประชากรรวม 1250 2.เด็ก 0-6 ปี (เด็ก) 120 3.กลุ่มอายุ 7-18 ปี 230 4. กลุ่มอายุ 19-60 ปี 750 5.กลุ่มผู้สูงอายุ > 60 ปี 150 6.ผู้พิการ 26 7.ผู้ป่วยเบาหวาน 72 8.ผู้ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ (ติดเตียง/ติดบ้าน) 5 9.หญิงตั้งครรภ์และเด็กคลอด 13 10.จำนวน อสม. 25 11.จำนวนศูนย์เด็กเล็ก 1 จำนวนประชากรที่ดูแลใกล้ชิด

นสค มีข้อมูล ประชาชนบันทึกใน Notebook ผล Performance รายเดือน 1.จำนวนคาบที่ออกเยี่ยมบ้าน/ชุมชน (คาบละ 3 ชม.) x 24 คาบ 12 คะแนน 2.ทำแผนปฏิบัติงานออกเยี่ยมกำหนด วัน/สถานที่/บุคคล 8 คะแนน 3.ปรับข้อมูล (Update) ที่มีการเปลี่ยนแปลง x 4 สัปดาห์ 4.คัดกรองมะเร็งปากมดลูก 1/12 ของเป้าหมาย 5 คะแนน 5.เด็ก 1-6 ปี ได้รับการส่งเสริมสุขภาพฟันครบถ้วน1/12 6.จำนวนวัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่เกิน 1 คนต่อเดือน (หรือคิดรวมปีละ 5 คน)

ผล Performance รายเดือน(ต่อ) 7.เด็ก 0-6 ปี ทุกคนได้รับการตรวจ WCC. 1/12 5 คะแนน 8.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และครบถ้วน 5 ครั้ง 9.เด็กคลอดทุกคนได้รับการดูแล WBC และพัฒนาครบ 1 ปี 10.ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมน้ำตาลได้เกิน 50% 11.ผู้พิการได้รับการเยี่ยมและฝึกให้ช่วยตนเอง 12.ผู้สูงอายุที่ติดเตียงและติดบ้าน ได้รับการเยี่ยมและช่วย ตนเองได้ 13.ประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อร่วมขับเคลื่อน กิจกรรมทางสุขภาวะ 3 คะแนน

ผล Performance รายเดือน(ต่อ) 14. มีการจัดรณรงค์กิจกรรมด้านสาธารณสุขในชุมชน 3 คะแนน 15. มีการสอน อสม. อย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง 16. ประสานการส่งต่อและรับปรึกษาดุจญาติมิตร 17. ผลการปฏิบัติงานรวม รพ.สต./ ศสม. 8 คะแนน 18. ดำเนินกิจกรรม นวัตกรรม อื่นๆ รวม 100 คะแนน

วิธีการจ่ายเงินค่าตอบแทน (P4P) ช่วงคะแนน ค่าตอบแทน (บาท) 1. น้อยกว่าหรือเท่ากับ 60 คะแนน (ไม่ได้เงิน) 2. 61 - 75 ให้ได้รับค่าตอบแทนคะแนนละ 10 บาท 10 - 1500 3. 76 - 90 ให้ได้รับค่าตอบแทนคะแนนละ 15 บาท 15 - 2250 4. 91 – 99 ให้ได้รับค่าตอบแทนคะแนนละ 20 บาท 20 - 1800 5. 100 คะแนนเต็ม 6000

ตัวอย่างการปฏิบัติงานของนักสุขภาพครอบครัว เพื่อบรรลุความสำเร็จในงานปฐมภูมิเพื่อ P4P วางแผนออกเยี่ยมชุมชน 1.1 ภาคเช้าออกทุกวันอังคารและวันพฤหัส ทุกสัปดาห์ รวม 8 คาบ 1.2 ภาคบ่ายออกปฏิบัติงานชุมชนทุกวัน ยกเว้นวันพุธ เป็นเวลา 4 สัปดาห์ รวม 16 คาบ รวมเวลาออกพื้นที่ 24 คาบ 2. ทำแผนปฏิบัติการ 2.1 ให้วัคซีนเด็ก DPT,OPV 1 ปีแรก ครบ 3 ครั้ง มีรายชื่อเด็กที่ตนเองดูแล มีประมาณ 10 คน ต้องติดตามดูแลรายบุคคล และดูแล WBC ครบถ้วน 2.2 เด็กอ่อนวัยเรียน 0-6 ปี มีรายชื่อเด็ก ที่ตนเองรับผิดชอบ 120 คน และ ดำเนินการวางแผนในการทำงาน 2.2.1 การดูแลสุขภาพฟัน 2.2.2 ตรวจ WCC

2.3 รายชื่อกลุ่มอายุ 13-19 ปี เป้าหมายจำนวน 130 คน 2.3.1 การวิเคราะห์ความเสี่ยงที่อาจจะตั้งครรภ์ และออกไปเยี่ยมเยียนให้ Sex Education (พร้อมแจกถุงยางอนามัยให้เด็กชายกรณีเสี่ยง) 2.3.2 เฝ้าระวังพฤติกรรมยาเสพย์ติดและให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล ที่เป็นปัญหา 2.4 มีรายชื่อหญิงตั้งครรภ์ครบ 10 คน ที่อยู่ในความดูแล (ออกเยี่ยมทุกสัปดาห์) 2.4.1 ติดตามให้ ANC ครบ 5 ครั้ง ทุกคน 2.4.2 รู้วันกำหนดคลอดและประสานการคลอดรับออกจากโรงพยาบาล และสร้างความคุ้นเคยระหว่างคนตั้งครรภ์และคนที่ทำคลอด 2.4.3 ให้ความช่วยเหลือเพื่อติดตามป้องกัน เพื่อไม่ให้เกิดโรค แทรกซ้อนในกรณี High Risk Pregnancy 2.5 สตรีอายุ 35 ปี ขึ้นไปจำนวน 240 คน ให้ตรวจดูรายชื่อผู้ที่ยังไม่ได้ทำ Pap Smear วางแผนประสานการตรวจให้ครบถ้วน แยกบริการรายเดือน

2.6 มีรายชื่อผู้ป่วยเบาหวานทุกคนหลังคัดกรอง จำนวน 75 คน 2.6.1 ดูแลการควบคุมน้ำตาลในเลือด และให้ความรู้เพื่อปรับเปลี่ยน พฤติกรรม 2.6.2 ให้ความรู้ญาติ สายตรง เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้เกิดโรค 2.7 มีรายชื่อผู้พิการครบถ้วนจำนวน 26 คนแยกประเภทและกำหนดภารกิจ ออกเยี่ยมเยียน พร้อมอุปกรณ์ช่วยเหลือ 2.8 มีรายชื่อผู้สูงอายุติดบ้าน, ติดเตียง, พร้อมทำแผนการออกเยี่ยมเยียน 2.8.1 ช่วยปรับสภาพที่อยู่อาศัย 2.8.2 สนับสนุนการช่วยเหลือครบวงจร 2.9 มีแผนออกเยี่ยมเยียนศูนย์เด็กเล็ก เพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาพร้อมทั้ง ประสานงานกับครูพี่เลี้ยง

2.10 กำหนดประเด็นสอน อสม. ในกลุ่ม อสม. ที่ตนเองดูแล 25 คน 2.11 กิจกรรมรณรงค์อื่น ๆ (ถ้ามี) 2.12 การประสาน อปท. (ประชุมร่วมกันเยี่ยมเยียนและนำคืนข้อมูลสุขภาพ ประชาชน) อาจไปเยี่ยมเป็นทีมก็ได้ 2.13 มีแผนการเยี่ยมบูรณาการโดยสหวิชาชีพ ด้วยการนำ Case มาปรึกษา ก่อนยก ทีมใหญ่ไปเยี่ยม ซึ่งทีมใหญ่ประกอบด้วย แพทย์, เภสัชกร, ทันตแพทย์, พยาบาล เชี่ยวชาญ, นักกายภาพบำบัด, โภชนาการ ออกไปช่วยเหลือ 2.14 แผนการเยี่ยมเยียน ทีมเล็กมี 1-2 คน ช่วยเหลือกันในวิชาชีพอื่น ๆที่ทำงาน ร่วมกัน (พยาบาล, นักวิชาการสาธารณสุข, นักกายภาพบำบัด, แพทย์แผนไทย, เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน, ทันตาภิบาล) 2.15 แผนการปฏิบัติงานเชิงรุกในโรงเรียน

หน่วยงานรับผิดชอบ รพ.สต. รพช.+สสอ. รพศ./รพ.ท /สสจ. ตำบล/ศสม อำเภอ จังหวัด เขตเครือข่ายบริการ ผู้ตรวจราชการฯ

กลไกบริหาร DHS รพสต./ศสม (ตำบล) รพช.+สสอ. เขตเครือข่าย รพศ./รพท.. กรรมการ ปฐมภูมิอำเภอ รพศ./รพท.. กรรมการ ปฐมภูมิจังหวัด เขตเครือข่าย กรรมการ ปฐมภูมิเขต 22

DHS *พลังขับเคลื่อนสุขภาพเข้มแข็ง*

ยุทธศาสตร์ดูแลประชาชน “ทุกคน ทุกประเด็น ทุกเวลา”

พื้นที่ (DHS) - ผอ.รพช. + สสอ. เป็นมิตรใกล้ชิด - ใช้อำเภอเป็นฐาน - ผอ.รพช. + สสอ. เป็นมิตรใกล้ชิด - ทีมงาน รพช. + สสอ. เป็นผู้สนับสนุน - รพ.สต. (ศสม.) เป็นผู้ปฏิบัติเข็มแข็ง (POWER FULL)

ยุทธศาสตร์ 1 สร้างองค์กรนำขับเคลื่อนมีประสิทธิภาพ 2 เสริมพลังผู้ปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ 3 ประสาน/ร่วมมือ อปท “ร่วมใจ ทรงพลัง” 4 บูรณาการทุกภาคส่วน “เป็นหุ้นส่วน” 5 สร้างการมีส่วนร่วมชุมชน “เฝ้าระวัง”

1.1 “รวมคน รวมเงิน รวมงาน” พื้นที่อำเภอเป็นเป้าหมาย 1.1 “รวมคน รวมเงิน รวมงาน” พื้นที่อำเภอเป็นเป้าหมาย 1.2 สร้างการมีส่วนร่วมยั่งยืน “ร่วมดำเนินงาน ร่วมประเมิน ร่วมรับผิดชอบ” 1.3 เริ่มปฐมภูมิเชื่อมโยง 8 ประเด็น 1.4 ดูแลประชาชนจากครัวเรือน

2.1 เสริมคน นสค : ปชก= 1 : 1250 2.2 เสริมทักษะ(ความรู้ ความสามารถ) 2.3 เสริมกำลัง พาหนะ IT โปรมือถือ 2.4 เสริมใจ ความก้าวหน้า ค่าตอบแทน 2.5 เสริมแนวทาง “ข้อมูล มีไว้ใช้ ประเมิน”

3.1 “ บทบาทใหม่ ภารกิจใหม่” 3.2 เป้าหมายชัดเจน “ทุกคน ทุกประเด็น ทุกเวลา” 3.3 เร่งรัดงาน “แบบหุ้นส่วน”

4.1 ระดมวิชาการ ทักษะ หนุนช่วยพื้นที่4.2 ร่วมกำหนดธงนำแบบมีส่วนร่วม “ทุกเรื่อง ทุกหน่วย ทุกปัญหา” 4.3 จัดแพทย์ที่ปรึกษา 1:12(พ.เวช)

5.1 เชื่อมโยงปัญหาสู่การเฝ้าระวัง “ชุมชนเฝ้าระวังกันเอง” 5.2 ประชาชนมีบทบาทและมีโครงการ 5.3 ชุมชนกำหนดมาตรการทางสังคม

1 จัดองค์กร “ติดตาม ต่อเนื่อง สม่ำเสมอ” 2 ประชาชน “ดี เสี่ยง ป่วย คือเป้าหมาย” 3 นสค เป็นญาติดูแลแบบ “หมอครอบครัว” 4 นสค มีแพทย์ที่ปรึกษา “ครู ผู้มีภารกิจ ร่วมดูแลครบวงจร” 5 จัดปรึกษา ปชช ถึง นสค ต่อหาแพทย์ 6 เติมทักษะ นสค สม่ำเสมอ ต่อเนื่อง

ระบบ 1.หมอครอบครัว ปชช นสค พ.เชี่ยวชาญ พ.เวช เชื่อมโยง แนบแน่น 1:1,250 มีความสามารถ มีตัวช่วย กำลังใจ ปชช พ.เชี่ยวชาญ เชื่อมโยง แนบแน่น พ.เวช 1:1 ตำบล ที่ปรึกษา อารมณ์ปฐมภูมิ

2. CARE (ดูแลด้วยหัวใจ) 2.1 C onsultation 2.2 A tele doctor @ hosp nearby 2.3 R emote monitor and FU. @ home 2.4 E xtend personel Health promotion program

- ปรึกษาทางไกล พึ่งได้เหมือนญาติ - พบหมอใกล้ตัว ทั่วถึงออนไลน์ - ปรึกษาทางไกล พึ่งได้เหมือนญาติ - พบหมอใกล้ตัว ทั่วถึงออนไลน์ ดูแลถึงบ้าน เบิกบานถ้วนทั่ว แผนส่งเสริมสุขภาพ รายคน ชุมชน ร่วมแรงแข็งขัน

W E C A N D O นโยบายส่งเสริมสุขภาพแลป้องกันโรค ปี ๕๖ เด็ก รายบุคคล -พฤติกรรมเสี่ยง -อุบัติเหตุ -มะเร็งตับ -จิตเวช รพศ. รพท. รพช. W ศูนย์สุขภาพ เด็ก -ดญ.แม่ -อ้วน -เหล้าบุหรี่ ประชาชน สุขภาพดีถ้วนหน้า E นโยบาย นสค. มี 5 ทักษะ ศูนย์สุขภาพ สตรี -พัฒนาการเด็ก -ศูนย์เด็ก -สุขภาพฟัน ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รพ.สต. C ศสม. สร้างสุขภาพ ศูนย์สุขภาพ ผู้สูงอายุ -การตั้งครรภ์ -มะเร็งปากมดลูก -มะเร็งเต้านม A ศูนย์ฟื้นฟู ผู้พิการ N เบาหวาน ความดัน D ผู้พิการพึ่งตนเอง อสม. O ผู้สูงอายุครบวงจร 36 36

ประเด็น 1. รายบุคคล รวม 19 ประเด็น W- HIV ลดลง สตรีตรวจเต้านมเอง 1. รายบุคคล รวม 19 ประเด็น W- HIV ลดลง สตรีตรวจเต้านมเอง สตรีตรวจ CA Cx E- เหล้า / บุหรี่/ฟันผุ เด็กหญิงแม่ นักเรียนอ้วน นร.ชายใช้Condom C- โรคหัด เด็กพัฒนาการสมวัย เด็กจมน้ำตายลดลง A-ANC 12 w/QANC MMR/IMR N-DM / HT D-พิการ พึ่งตัวเอง O-สูงอายุ ครบวงจร

ประเด็น 2. พัฒนาหน่วยสนับสนุนใน รพช + เวชกรรม + พื้นที่ รวม 9 ประเด็น 2.1 ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 2.2 ห้องคลอดคุณภาพ 2.3 คลินิก NCD คุณภาพพึ่งได้ 2.4 ศูนย์ปรึกษาคุณภาพ 2.5 ศูนย์ผู้สูงอายุ / พิการ 2.6 DHS เครือข่ายอำเภอเข้มแข็ง 2.7 สถานบริการปลอดบุหรี่ 2.8 ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง(ศสม)คุณภาพ 2.9 โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม

เป้าหมาย P&P ปี ๕๖ กลุ่ม/ประเด็น ภารกิจรายประเด็น นสค. ๑ คนดูแลประชากร ๑ : ๑,๒๕๐ คน เครือข่าย รพ.สต. ดูแล๘,๐๐๐ คน ประเทศ ๖๕ ล้านคน W (๖๖%) วัยแรงงาน -พฤติกรรมเสี่ยงอุบัติเหตุ, มะเร็งตับ,จิตเวช ๘๒๕ ๕๓๐๐ ๔๓ E (๑๓%) วัยเรียน/รุ่น -ดญ.แม่-อ้วน -เหล้า ,บุหรี่ ๑๖๐ ๑,๐๐๐ ๘.๕ C (๘ %) เด็ก๐-๕ ปี -เด็กปฐมวัย -สุขภาพฟัน ๑๐๐ ๖๕๐ ๕ ล. A (๒๐%) หญิงตั้งครรภ์ มะเร็งปากมดลูก -หญิงตั้งครรภ์ -มะเร็งมดลูก -มะเร็งเต้านม ๑๔ ๒๕๐ ๙๐ ๑๓ ล. N เบาหวาน ความดัน -เบาหวาน -ความดัน ๖๐ ๔๐๐ ๓.๒๕ D (๒ %) ผู้พิการ -ผู้พิการพึ่งตนเอง ๒๔ ๑.๓ O (๑๓%) ผู้สูงอายุ -ดูแลผู้สูงอายุแบบครบวงจร

e-Healthcare DATA center การบริหารจัดการ IT e-Healthcare DATA center 1.นสค.เยี่ยม 19 ประเด็น 43 แฟ้ม N.book 2.รวม รพสต/ศสม อ.จ. ขึ้น I-Cloud 3.ประชาชนโทรฯหา นสค 4.นสคมีแพทย์ที่ปรึกษา(พ.เวชศาสตร์) ติดต่อกันด้วย IT 5.พ.เวชศาสตร์ปรึกษาพ.เชี่ยวชาญทาง IT 6.DHS เตือนประชาชนด้วย SMS 7. ประชาชนมีแผนดูแลสุขภาพ 5 อ 2ส

เชื่อมั่นและทำให้เป็นจริง PARADIGM MUST SHIFT