ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
Advertisements

ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์

ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน วิชาการบัญชีห้างหุ้นส่วนโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ STAD ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 1. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการวางแผนควบคุม โดยงบประมาณ ของนักศึกษา 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนกับหลัง.
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาทักษะการการปูเตียง ด้วยสื่อมัลติมีเดีย
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
นางสาวถนอมนวล ฐาปนพงษ์ไพบูลย์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
อาจารย์นริสรา คลองขุด
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลการสร้างประโยค Wh-Questions โดยใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาระดับประกาศวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด.
นายทัศนชัย เหน็บบัว โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
อริส ขวัญเสียงเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ ชื่อเรื่อง : การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ภาษาไทยของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยี
เทคโนโลยีสื่อประสมสอน ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ นายชูชีพ ขาวเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีนีร ชาบริหารธุรกิจ.
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ

ความสำคัญ และความเป็นมาของปัญหา นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่ค่อยให้ความสนใจกับการเรียน ภาคทฤษฏีของวิชาคอมพิวเตอร์ แต่กลับให้ความสนใจกับภาคปฏิบัติ มากกว่า ซึ่งในรายวิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้นนั้นมี ทั้งทฤษฏี และปฏิบัติ ผู้สอนจึงได้ใช้วิธี การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ซึ่งมีรูปแบบของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ใช้กระบวนการกลุ่ม และยุทธวิธีให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการประมวล ความรู้ที่ได้จากการทำกิจกรรมต่างๆ สรุปเป็นองค์ความรู้ด้วยตนเอง

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน และหลังการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น โดยการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ (Jigsaw) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น

ผลการวิจัย ตารางที่ 1 ค่าสถิติคะแนนก่อนเรียน คะแนนหลังเรียน และคะแนนผลต่าง ค่าสถิติ คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลังเรียน คะแนนผลต่าง 5.14 11.47 6.33 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 1.84 0.99   ตารางที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียน ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน จำนวน ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน t Sig. ก่อนเรียน 42 5.143 1.84 19.643 .000 หลังเรียน 11.476 0.99

ผลการวิจัย ตารางที่ 3 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่เรียนรายวิชาคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคตัวต่อ ข้อที่ ข้อความ ค่าเฉลี่ย ความหมาย ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ : 3.967 เห็นด้วยมาก 1 วิธีสอนแบบนี้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน 4.524 เห็นด้วยมากที่สุด 2 วิธีสอนแบบนี้นักเรียนสามารถให้ และรับความช่วยเหลือกับเพื่อนได้ 3.976 3 วิธีการสอนแบบนี้นักเรียนทำงานเสร็จตามเวลาโดยการร่วมมือกันของนักเรียนทุกคน 3.762 4 วิธีสอนแบบนี้ทำให้นักเรียนกล้าซักถามเกี่ยวกับบทเรียนมากขึ้น 3.833 5 วิธีสอนแบบนี้ทำให้นักเรียนได้ช่วยเหลือกันในกลุ่ม 3.738 ด้านบรรยากาศในการเรียนรู้ : 4.230 6 วิธีสอนแบบนี้ช่วยกระตุ้นบรรยากาศในการเรียน 4.500 7 วิธีสอนแบบนี้ทำให้นักเรียนมีโอกาสแลกเปลี่ยน และแสดงความคิดเห็นมากขึ้น 3.952 8 วิธีการสอนแบบนี้ทำให้นักเรียนสนิทสนมคุ้นเคยกับเพื่อนมากขึ้น 4.238 ประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรู้ : 4.089 9 วิธีสอนแบบนี้ช่วยให้นักเรียนได้รู้จักเพื่อนมากขึ้น และรู้จักการทำงานร่วมกัน 4.071 10 วิธีสอนแบบนี้ช่วยให้นักเรียนเข้ากับเพื่อนได้ดี และร่วมกันทำงานได้สำเร็จ 4.214 11 วิธีสอนแบบนี้ช่วยให้นักเรียนทำงานได้อย่างมีระบบ 12 วิธีสอนแบบนี้นักเรียนสามารถสรุปความสำคัญของเนื้อหาได้ ค่าเฉลี่ยโดยรวม : 4.073

สรุปผลการวิจัย   ค่า t = 19.643 ความพึงพอใจ = 4.073 จากค่าเฉลี่ย และค่า t แสดงให้เห็นว่า ก่อนเรียน และหลังเรียนด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคตัวต่อ มีความแตกต่างกันโดยก่อนเรียนมีระดับคะแนนน้อยกว่าหลังเรียน ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อวิธีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมืออยู่ในระดับมาก ระดับนัยสำคัญ 0.05

ขอบคุณ ครับ นายกัณพงศ์ พันธุ์สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ