ระบบติดตามผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

แบบฟอร์มที่ 1 สำนัก/กอง/ศูนย์ ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯ
ขั้นตอนการลงทะเบียน แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ
สาระสำคัญของการสัมมนา
Innovative Solution Integration Co, Ltd
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ
ห้องประชุม กรมชลประทานที่ 11 ปากเกร็ด นนทบุรี
ข้อเสนอการปฏิบัติราชการ สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา ประจำปีงบประมาณ พ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
คู่มือการใช้งานระบบ DOC รายงานผลการปฏิบัติราชการ
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11 มกราคม น.
นางสาวพิมลพัชร์ อารมณ์รัตน์ รหัส
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การตรวจประเมินเชิงประจักษ์ ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
แผนแม่บทการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การประชุมซักซ้อมความเข้าใจ และเตรียมการอบรมการใช้งาน
กองแผนงานละวิชาการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ระบบฐานข้อมูล Data Directory
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ดัชนีชี้วัดระดับบุคคล หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญของบุคคลแต่ละตำแหน่งหรือแต่ละบุคคล ซึ่งแสดงผลเป็นข้อมูลในรูปของตัวเลขเพื่อสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานของบุคคล.
การชี้แจงวิธีการใช้งาน ระบบติดตามออนไลน์
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ขั้นตอนการใช้งานระบบ E-Project Management
ระบบโปรแกรมทะเบียนเกษตรกรรายแปลง
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPI)
สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร

สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
งานกิจการนิสิต
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โดย อารมณ์ ผิวดำ สพม.38 (สุโขทัย-ตาก)
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
และค่าเป้าหมายรายบุคคล
 วัตถุประสงค์กำหนดรายละเอียดของโครงการแต่ละคณะ / หน่วยงาน  ผู้ใช้งาน ผู้จัดทำโครงการของแต่ละคณะ / หน่วยงาน รูปแสดงหน้าจอบันทึกข้อมูล โครงการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบติดตามผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร โดย ปฐมศักดิ์ บุรณศิริ 1

หัวข้อการสัมนา วัตถุประสงค์ของระบบฯ ความสามารถของระบบฯ การเตรียมข้อมูล เมนูการใช้งาน ข้อมูล/รายงานที่สามารถติดตามได้จากระบบฯ 2

วัตถุประสงค์ของระบบฯ War Room Online ใช้ในการบริหารรายการตัวชี้วัดระดับองค์กร สำนัก/กอง และระดับบุคคล ใช้ในการบริหารรายการตัวชี้วัดระดับบุคคล ใช้ในการบริหารข้อมูลโครงการ และความคืบหน้ากิจกรรมต่างๆ ใช้ในการประเมินผลงาน (ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน) ใช้สำหรับเก็บข้อมูลศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 68 แห่ง ใช้ในการติดตามผลการประเมินของตนเองและผู้ใต้บังคับบัญชา เปรียบเสมือนสมุดพกผลการประเมินแบบ On-line สามารถจัดพิมพ์แบบประเมินผลการปฏิบัติราชการระดับบุคคล 3

ความสามารถของระบบติดตาม ผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ความสามารถของระบบติดตาม ผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร สามารถแบ่งการใช้งานตามรูปแบบของการดำเนินงาน สามารถแสดงสถานะเป็นสีเพื่อบอกความสำเร็จของตัวชี้วัด สามารถสร้างตัวชี้วัดแบบรายการที่ใช้ร่วมกัน สามารถสร้างแบบการประเมินผลแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ระดับองค์กร ระดับหน่วยงาน รายบุคคล 4

ความสามารถของระบบติดตาม ผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ความสามารถของระบบติดตาม ผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร สามารถสร้างเกณฑ์การประเมินได้หลายรูปแบบ สามารถสร้างเกณฑ์การประเมินที่ใช้ทั้งองค์กร สามารถสร้างเกณฑ์การประเมินที่ใช้ในแต่ละตัวชี้วัด สามารถสร้างเกณฑ์การประเมินที่ใช้ในแต่ละบุคคล สามารถแสดงผลการประเมินเป็น Indicator ของรายบุคคล สามารถประเมินผลงานรายบุคคลด้วยตัวชี้วัด และรายงานข้อมูล ตัวชี้วัดเป็นรายบุคคล 5

ความสามารถของระบบติดตาม ผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ความสามารถของระบบติดตาม ผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร หัวหน้าสามารถตรวจสอบผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยตัวชี้วัดที่ใช้ ประเมินผลงานผ่านทางระบบฯ สามารถตรวจสอบข้อมูลตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง สามารถตรวจสอบคะแนนการประเมินตัวชี้วัดได้ตามสายบังคับ บัญชา ผู้ใช้สามารถเข้าสู่ระบบได้ โดยผ่านทาง Web Browser ดังนั้น สามารถตรวจสอบได้ทุกสถานที่ สามารถเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลบุคคลเพื่อนำรายชื่อของผู้ใช้ระบบ จากระบบอื่นมาใช้ได้ 6

ความสามารถของระบบติดตาม ผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ความสามารถของระบบติดตาม ผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร สามารถใส่ข้อมูลได้หลายวิธี ใส่ข้อมูลตัวชี้วัดผ่านทางหน้าจอของระบบฯ ใส่ข้อมูลตัวชี้วัดผ่านทาง Excel file แล้ว ส่งข้อมูลมา ประมวลผลในระบบฯ สร้างสูตรการคำนวนค่าตัวชี้วัดจากตัวชี้วัดที่มีอยู่ในระบบฯ ดึงข้อมูลจากระบบอื่นๆ ด้วย XML data source สามารถสร้างกระบวนการตรวจสอบข้อมูลตัวชี้วัดก่อนนำไป ประเมินผล 7

ความสามารถของระบบติดตาม ผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ความสามารถของระบบติดตาม ผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร สามารถเก็บข้อมูลศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 68 แห่ง เพื่อเป็น ฐานข้อมูล และ แสดงรายงาน ข้อมูลโครงสร้างองค์กร และ จำนวนบุคลากร ข้อมูลพื้นที่รับผิดชอบ และ ประชากรในความดูแล ข้อมูลกิจกรรมการให้บริการ และ เวลาการให้บริการ ข้อมูลโครงการ ที่ศูนย์ดำเนินงาน ข้อมูล อันดับ โรคที่สำคัญ แบ่งตามกลุ่มโรคที่มารักษาในศูนย์ ข้อมูล อันดับ โรค/ปัญหาทางสาธารณสุขในพื้นที่รับผิดชอบ กราฟ สัดส่วนบุคลากร ต่อผู้รับ บริการ กราฟ ช่วงอายุของประชากร 8

การเตรียมข้อมูล แบบฟอร์ม ข.1 เป็นเอกสาร download ได้ที่เมนูแบบฟอร์มสำคัญ ตารางแสดงการกำหนดตัวชี้วัดสำนักอนามัยลงสู่ระดับส่วนราชการ ประจำปี พ.ศ. 2554 (ฉบับปรับปรุง) แบบฟอร์ม ข.2 เป็นเอกสาร download ได้ที่เมนูแบบฟอร์มสำคัญ ตารางแสดงการกำหนดตัวชี้วัดของสำนักงานพัฒนาระบบ สาธารณสุขลงสู่ระดับฝ่าย / กลุ่ม ปี พ.ศ. 2554 แบบฟอร์ม ข.3 เป็นเอกสาร download ได้ที่เมนูแบบฟอร์มสำคัญ ตารางแสดงการกำหนดตัวชี้วัดฝ่าย/กลุ่มงานลงสู่ระดับบุคคลปี พ.ศ. 2554 (ชื่อหน่วยงาน) 9

การเตรียมข้อมูล แบบฟอร์ม ข.4 เป็นเอกสาร download ได้ที่เมนูแบบฟอร์มสำคัญ กำหนดตัวชี้วัดตามหน้าที่ความรับผิดชอบหลักระดับบุคคล (โดย นำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งหรือใบมอบหมายงานมาพิจารณา) แบบฟอร์ม ข.5 ระบบสามารสร้าง แบบฟอร์มและผลการประเมินให้ แบบประเมินผลการปฏิบัติราชการระดับบุคคลของข้าราชการ กรุงเทพมหานครสามัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 10

การไหลเวียนของข้อมูล ข 1 ข 2 ข 3 ข 4 ผู้ใช้ระบบ เจ้าหน้าที่ประสานงานรวบรวมข้อมูลผลงาน ข้อมูล สำหรับ ใช้ในการจัดการ ผู้ดูแลระบบ ระบบ BSCDOH ประมวลผล ข้อมูลผลการดำเนินโครงการ และตัวชี้วัด ข 5 11

เมนูการใช้งาน หน้าหลัก และ การวางเมนู การเข้าดู Daily Plan สำนักอนามัย การเข้าดู War Room Online การติดตามผลการดำเนินงานตามมิติ การติดตามผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ การเข้าดู ผลการปฏิบัติงานของตนเอง การเข้าดู ผลการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา การเข้าดู ข้อมูลศูนย์บริการสาธารณสุข การเข้าดู ข้อมูลความก้าวหน้าโครงการที่รับผิดชอบ 12

หน้าจอหลักของระบบ DOHBSC ข้อมูล/รายงานที่สามารถติดตามได้จากระบบฯ หน้าจอหลักของระบบ DOHBSC เมนู สำหรับ ผู้ดูแลระบบเข้ามาจัดการข้อมูล ปุ่ม Log In/Out ข้อมูลผู้ใช้ระบบที่เข้ามาใช้งาน เมนู สำหรับ ผู้ใช้งานเข้ามาติดตามผลการดำเนินงาน เมนู สำหรับ ผู้ใช้งานเข้ามาดูข้อมูลศูนย์บริการสาธารณสุข 13

หน้าจอการติดตาม Daily Plan 14

ติดตาม Daily Plan Detail 15

เข้าดูระบบ Daily Plan ของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล 16

War Room Online 17

เข็มชี้วัดแสดงภาพรวมการประเมินผลตัวชี้วัด กดที่นี่เพื่อดูข้อมูล รายงานตัวชี้วัด กดที่นี่เพื่อดูข้อมูล รายงานความก้าวหน้าโครงการ 18

การติดตามผลการดำเนินงาน (แบบมิติ) ปุ่มสำหรับการเลือกดูแบบแยกมิติ/ยุทธศาสตร์ หรือ แบบรายการตัวชี้วัด รูปภาพผู้เป็นเจ้าของแบบประเมิน ปุ่มสำหรับการเลือกค้นหาตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน แยกตามสีที่ได้รับ ข้อมูล เข็มชี้วัดแยกตามมิติ ตัวเลขแสดงจำนวนตัวชี้วัดที่ได้ผลการประเมินตามสีต่างๆ สีฟ้า (N/A) แสดงข้อมูล จำนวนตัวชี้วัดที่ยังไม่มีข้อมูล 19

การติดตามผลการดำเนินงาน (แบบยุทธศาสตร์) 20

การติดตามผลการดำเนินงาน (รายการตัวชี้วัด) ปุ่มดูรายละเอียด เพิ่มเติม ข้อมูล สีแสดงการประเมินตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด ผลการประเมิน แยกตามไตรมาส ข้อมูลล่าสุดที่ได้รับ 21

การเข้าดูผลการปฏิบัติงานของตนเอง รายการตัวชี้วัด ให้เลือกสร้างกราฟ เลือกรายการตัวชี้วัด(มิติ/ยุทธศ่าสตร์/งานประจำ) กราฟแสดงข้อมูล ตัวชี้วัดย้อนหลัง ข้อมูลเข็มชี้วัด 22

การเข้าดู ผลการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา รายชื่อหน่วยงาน/ตำแหน่งงาน ของผู้ใต้บังคับบัญชา ปุ่มกดดูผลการประเมินของบุคลากรที่เลือก รายชื่อ /รูปภาพของ บุคลากรที่เลือก 23

การเข้าดูข้อมูลศูนย์บริการสาธารณสุข ข้อมูลโครงสร้างองค์กรและจำนวนบุคลากร ข้อมูลพื้นที่รับผิดชอบและประชากรในความดูแล ข้อมูลกิจกรรมการให้บริการและเวลาการให้บริการ ข้อมูลโครงการที่ศูนย์บริการสาธารณสุขดำเนินงาน ข้อมูลอันดับโรคที่สำคัญ แบ่งตามกลุ่มโรคที่มารักษาใน ศูนย์บริการสาธารณสุข ข้อมูลอันดับโรค/ปัญหาทางสาธารณสุขในพื้นที่รับผิดชอบ กราฟสัดส่วนบุคลากรต่อผู้รับบริการ กราฟช่วงอายุของประชากร 24

หน้าจอ ข้อมูลศูนย์บริการสาธารณสุข ส่วนการแสดงผล แบบ กราฟ ส่วนการแสดงผล ข้อมูลประจำศูนย์ 25

หน้าจอ ข้อมูลศูนย์บริการสาธารณสุข 26

หน้าจอ ข้อมูลศูนย์บริการสาธารณสุข 27

แบบฟอร์มผลการประเมินฯ แบบ Online ข. ๕ แถบข้อมูลสำหรับการดูรายงานในแบบฟอร์ม 28

รายงานด้านการประเมินผลสัมฤทธิ์ 29

รายงานด้านการประเมินสมรรถนะ 30

จบการนำเสนอ 31