กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
แผนและยุทธศาสตร์ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่จัดเก็บภาษี เพื่อส่งเสริมเสถียรภาพทาง การคลัง พัฒนาสังคม และรักษาสิ่งแวดล้อม พันธกิจ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษี เพื่อรักษาเสถียรภาพทาง.
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจัดการศึกษาในชุมชน
การสื่อสารแผนที่ยุทธศาสตร์ ระดับองค์กร ระดับภาค ระดับพื้นที่
ยุทธศาสตร์กรมสรรพสามิต
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 4 th กลยุทธ์การส่งเสริมและพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพอุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ.
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
นโยบายด้านบริหาร.
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
การนำเสนอผลงานต่อณะ กรรมการตัดสินรางวัล STI THAILAND AWARD ประเภท วิสาหกิจชุมชน.
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
บริการ ICT ที่เป็นเลิศและเข้าถึงได้
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปการประชุมระดมความคิด
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
นโยบายรัฐบาล (16+9) และยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy)
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
Evaluation of Thailand Master Plan
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ. 2552-2554 ของ วท กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ.ศ.2552-2554 ของ วท.สำหรับใช้ในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 เป็นองค์กรหลักในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อสร้างปัญญาในสังคม สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความสามารถในการแข่งขันของประเทศอย่างยั่งยืน วิสัยทัศน์ 3. ร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ สร้างคนดีและเก่งในทุกระดับ รวมทั้งสร้างความตระหนักด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรม ให้แพร่หลายและ เป็นที่ยอมรับ 2. ริเริ่ม เร่งรัด ผลักดันและดำเนิน การวิจัย และพัฒนา เพื่อสร้าง องค์ความรู้ และสร้างผลกระทบ เชิงเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้ง พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม 5. สนับสนุนให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยี และสร้างนวัตกรรมให้แก่ภาคการผลิตและบริการ รวมทั้งบริการสังคมด้วย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อเพิ่มผลิตภาพทางเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของประชาชน 4. สร้างระบบสนับสนุนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อสามารถสร้างปัญญา เข้าถึงความรู้ใหม่ๆ และนำภูมิปัญญาไทยมาใช้ผสมผสานกันได้ 1. เสนอแนะนโยบาย จัดทำยุทธศาสตร์และ แผนด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม พันธกิจ 1. การส่งเสริมและเร่งรัด การพัฒนากำลังคนด้าน วทน. ให้เป็นพลังของประเทศ 2. การสร้างความตระหนัก และพัฒนาการเรียนรู้ ด้าน วทน.ให้เป็นสังคม ฐาน ความรู้ 3.การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม สร้างฐานความรู้และเพิ่มผลิตภาพของประเทศ 4.การถ่ายทอดเทคโนโลยี และมีการนำผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมไปใช้ในการเพิ่มผลผลิตเชิงพาณิชย์ทุกระดับ 5. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมให้เพียงพอ รวมทั้งพัฒนาการบริหารจัดการด้าน วทน. ให้มีประสิทธิภาพและทันสมัย 6. การพัฒนานโยบาย วทน. มีประสิทธิภาพและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ยุทธศาสตร์ เป้าหมายที่ 1 กำลังคนทางด้าน วทน. ที่ได้รับการเสริมสร้างขีดความสามารถโดยการศึกษา/อบรม สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม และ การปฏิบัติงานด้าน วทน.ได้ เป้าหมายที่ 2 ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งเด็กและเยาวชน มีทัศนคติที่ดีต่อ วทน. เป้าหมายที่ 3 การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมสามารถนำไปเผยแพร่ และประยุกต์ใช้ได้ ในภาคการผลิต บริการ และชุมชน เป้าหมายที่ 4 ผู้ประกอบการและชุมชนได้นำเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม เป้าหมายที่ 5 ภาคการผลิตและบริการ ใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานในการยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์และการบริการให้ได้มาตรฐาน รวมทั้ง การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสนับสนุนและการบริหารจัดการที่มีคุณภาพให้เพียงพอกับความต้องการ เป้าหมายที่ 6 ภาคการผลิต/บริการ และภาคสังคม/ชุมชน ได้รับการพัฒนาจากนโยบายส่งเสริมและสนับสนุน การสร้างความสามารถทาง วทน. เป้าประสงค์ 1. ร้อยละของนักเรียนทุนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่จบการศึกษาและกลับมาทำงานตรงตามสาขาวิชา 2. จำนวนผู้รับการฝึกอบรมหลักสูตรด้าน วทน. 3. จำนวนผลงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชน 4. จำนวนผู้ใช้บริการพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ 5. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ด้าน วทน. 6. จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 7. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมที่สามารถนำไปยื่นขอจดสิทธิบัตร 8. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในภาคการผลิต บริการและชุมชน 9. จำนวนสถานประกอบการที่ใช้ผลงานวิจัยและพัฒนา 10. จำนวนโครงการความร่วมมือด้าน วทน.ระหว่างประเทศที่มีกิจกรรมต่อเนื่องอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีแผนปฏิบัติการรองรับและมีการติดตามประเมินผล 11. ร้อยละของหน่วยงานที่ใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล 12. จำนวนผู้มาใช้บริการในอุทยานวิทยาศาสตร์ 13. จำนวนธุรกิจใหม่ที่เกิดจากระบบบ่มเพาะเทคโนโลยี 14. จำนวนการบริการวิเคราะห์ ทดสอบ สอบเทียบ การพัฒนาและรับรองห้องปฏิบัติการ และบริการข้อมูลทาง ว. และ ท. 15. ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสามารถยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการได้ตามเป้าหมาย 16. จำนวนข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย แผน และมาตรการด้าน วทน.ระดับประเทศ ตัวชี้วัด 4.1 นำองค์ความรู้ด้าน วทน. มาพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น และคุณภาพชีวิต 4.2 ผลักดันการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์และสาธารณะประโยชน์ 1.1 สนับสนุนการสร้างบุคลากรความรู้ระดับสูงทางด้าน วทน. 1.2 เสริมความรู้และทักษะให้แก่ผู้ทำงานทางด้าน วทน. ในภาคส่วนต่างๆ 2.1 สร้างการเรียนรู้และความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชน และเผยแพร่ความรู้ด้าน วทน. สู่ประชาชน รวมทั้งเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร 3.1 ผลักดันการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม เพื่อสร้างองค์ความรู้และนำไปใช้ประโยชน์ 3.2 สร้างเครือข่ายการวิจัยและพัฒนา ในการสร้างขีดความสามารถทาง วทน. กลยุทธ์ 5.1 พัฒนาระบบทดสอบ วิเคราะห์คุณภาพและรับรองมาตรฐานให้ทันสมัย 5.2 เร่งจัดตั้งอุทยานวิทยาศาสตร์ในทุกภาคให้แล้วเสร็จ 5.3 เร่งพัฒนาศูนย์แห่งความเป็นเลิศ เพื่อรองรับเทคโนโลยีอุบัติใหม่ และเทคโนโลยีที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ 5.4 เร่งพัฒนาเทคโนโลยีระบบภูมิสารสนเทศและอวกาศเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะด้านทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม 5.5 พัฒนาการบริหารจัดการด้าน วทน. ให้มีประสิทธิภาพ มติคณะอนุกรรมการตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์กระทรวง ครั้งที่ 1/2551 เมื่อ 29 มค.2552 6.1 สร้างความร่วมมือในการพัฒนานโยบาย วทน. ในระดับประเทศ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์แผนการบริหารราชการแผ่นดินฯ และยุทธศาสตร์ วท. ข้อ1 นโยบายเร่งด่วน ข้อ 3 นโยบาย สังคมและ คุณภาพชีวิต ข้อ 5 นโยบายที่ดินทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ข้อ 8 นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ข้อ 6 นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และ นวัตกรรม ยุทธศาสตร์ แผนการบริหารฯ 6.1 ส่งเสริมและสนับสนุนโครงการวิจัยตามแนวทางพระราชดำริ การวิจัยและพัฒนา ทาง ว. และ ท. ทั้งงานวิจัยขั้นพื้นฐาน และงานวิจัยประยุกต์ฯ 6.2 เร่งรัดผลิตบุคลากรด้าน ว.และ ท. และบุคลากรด้านการวิจัยให้สามารถตอบสนองความต้องการของภาคการผลิตฯ 6.3 ปฏิรูประบบการวิจัยและพัฒนาของประเทศฯ ผลงานวิจัย ทุกระดับสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในภาคการผลิต บริการ และการยกระดับคุณภาพชีวิต เร่งผลิตบุคลากรวิจัยและพัฒนาให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของภาคการผลิต พัฒนาระบบฐานข้อมูลที่จะช่วยในการจัดการทรัพยากรในการวิจัยให้มีประสิทธิภาพและใช้ประโยชน์จากงานวิจัยรวมทั้งสร้างเครือข่ายระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องวิจัย ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ เป้าหมายเชิงนโยบาย 1. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในภาคการผลิตบริการ และการยกระดับคุณภาพชีวิตเพิ่มขึ้น 2. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมที่สามารถนำไปยื่นขอจดสิทธิบัตรไม่น้อยกว่า 450 เรื่อง 1. บุคลากรวิจัยและพัฒนา 10 คน ต่อประชากร 10,000 คน 1. ระบบฐานข้อมูล กลไกหรือโครงสร้างพื้นฐานที่ส่งเสริมการพัฒนาภาคการผลิตและบริการของไทยให้แข่งขันได้ในตลาดโลก ตัวชี้วัด 1. การส่งเสริมและเร่งรัดการพัฒนากำลังคนด้าน วทน. ให้เป็นพลังของประเทศ 2. การสร้างความตระหนัก และพัฒนาการเรียนรู้ ด้าน วทน.ให้เป็นสังคม ฐาน ความรู้ 3.การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม สร้างฐานความรู้และเพิ่มผลิตภาพของประเทศ 4.การถ่ายทอดเทคโนโลยีและมีการนำผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมไปใช้ในการเพิ่มผลผลิตเชิงพาณิชย์ทุกระดับ 5. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมให้เพียงพอ รวมทั้งพัฒนาการบริหารจัดการด้าน วทน. ให้มีประสิทธิภาพและทันสมัย 6. การพัฒนานโยบาย วทน. มีประสิทธิภาพและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ยุทธศาสตร์ วท. เป้าหมายที่ 5 ภาคการผลิตและบริการ ใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานในการยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์และการบริการให้ได้มาตรฐาน รวมทั้ง การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสนับสนุนและการบริหารจัดการที่มีคุณภาพให้เพียงพอกับความต้องการ เป้าหมายที่ 1 กำลังคนทางด้าน วทน. ที่ได้รับการเสริมสร้างขีดความสามารถโดยการศึกษา/อบรม สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม และ การปฏิบัติงานด้าน วทน.ได้ เป้าหมายที่ 2 ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งเด็กและเยาวชน มีทัศนคติที่ดีต่อ วทน. เป้าหมายที่ 3 การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมสามารถนำไปเผยแพร่ และประยุกต์ใช้ได้ในภาคการผลิต บริการ และชุมชน เป้าหมายที่ 4 ผู้ประกอบการและชุมชนได้นำเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม เป้าหมายที่ 6 ภาคการผลิต/บริการ และภาคสังคม/ชุมชน ได้รับการพัฒนาจากนโยบายส่งเสริมและสนับสนุน การสร้างความสามารถทาง วทน. เป้าหมายการให้บริการ 10. จำนวนโครงการความร่วมมือด้าน วทน.ระหว่างประเทศที่มีกิจกรรมต่อเนื่องอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีแผนปฏิบัติการรองรับและมีการติดตามประเมินผล 11. ร้อยละของหน่วยงานที่ใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล 12. จำนวนผู้มาใช้บริการในอุทยานวิทยาศาสตร์ 13. จำนวนธุรกิจใหม่ที่เกิดจากระบบบ่มเพาะเทคโนโลยี 14. จำนวนการบริการวิเคราะห์ ทดสอบ สอบเทียบ การพัฒนาและรับรองห้องปฏิบัติการ และบริการข้อมูลทาง ว. และ ท. 15. ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสามารถยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการได้ตามเป้าหมาย 16. จำนวนข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย แผน และมาตรการด้าน วทน.ระดับประเทศ 6. จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 7. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมที่สามารถนำไปยื่นขอจดสิทธิบัตร 8. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในภาคการผลิต บริการและชุมชน 9. จำนวนสถานประกอบการที่ใช้ผลงานวิจัยและพัฒนา 1. ร้อยละของนักเรียนทุนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่จบการศึกษาและกลับมาทำงานตรงตามสาขาวิชา 2. จำนวนผู้รับการฝึกอบรมหลักสูตรด้าน วทน. 3. จำนวนผลงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชน 4. จำนวนผู้ใช้บริการพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ 5. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ด้าน วทน. ตัวชี้วัด สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ 12 ก.พ.2552