กระบวนการวิจัย Process of Research ภูวนัย สุวรรณธารา 17 ก.ย. 57 ที่มา ศาสตราจารย์ ดร.เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ ราชบัณฑิต
นำเข้าสู่บทเรียน
แนวคิด การวิจัยต้องใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ - ทดสอบได้ - เชื่อถือได้ - ทดสอบได้ - เชื่อถือได้ Systematic approach - ความเป็นระบบ - ความเป็นสากล Imagination - คิดนอกกรอบ
แนวคิด (ต่อ) Critical Thinking - มองจากมุมมองอื่น แนวคิด (ต่อ) Critical Thinking - มองจากมุมมองอื่น - อธิบายด้วยวิธีการที่แตกต่างหรือดีกว่า - ความคิดของเราบกพร่องหรือไม่สมบูรณ์อะไรบ้าง - ปัญหาเดิมแก้ด้วยวิธีใหม่ได้ไหม - มีตัวแบบหรือคำอธิบายที่ดีกว่าหรือไม่
Research Knowledge Benefits Discovery “know why” Innovation “know how” Knowledge Benefits
ปัญหาวิจัย มาจากไหน ทดสอบได้หรือไม่ เป็นของใคร
แนวคิดบางประการเกี่ยวกับงานวิจัย ที่มาของปัญหาวิจัยอาจพิจารณาจาก People คนผู้ทำหน้าที่หรือผู้ปฏิบัติ Problems ปฏิบัติแล้วมีปัญหา Programs ปัญหาจากโครงการ แผนงาน โปรแกรมหรือหลักสูตร Phenomena เกิดจากปรากฏการณ์ต่าง ๆ การเปลี่ยนนโยบาย การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
แนวคิดบางประการเกี่ยวกับงานวิจัย องค์ประกอบคุณภาพงานวิจัย Problem ปัญหา Data ข้อมูล Analysis การวิเคราะห์ Research Report การนำเสนอ
ปัญหา ปัญหาคืออะไร ปัญหาชัดเจนหรือไม่ ที่มาของปัญหาคืออะไร ปัญหาที่ศึกษามีประโยชน์มากน้อยเพียงใด ปัญหานั้นทดสอบได้หรือไม่
ข้อมูล แหล่งข้อมูลเหมาะสมหรือไม่ ลักษณะข้อมูลเป็นอย่างไร รวบรวมข้อมูลด้วยวิธีใด ข้อมูลที่เก็บได้เชื่อถือได้หรือไม่
การวิเคราะห์ วิเคราะห์ข้อมูลอย่างไร วิเคราะห์ข้อมูลเหมาะสมหรือไม่ การวิเคราะห์ข้อมูลสามารถทดสอบสมมติฐานได้หรือไม่ การแปลความหมายของการวิเคราะห์เหมาะสมและถูกต้องหรือไม่
ศึกษาอะไร ศึกษาใคร ศึกษาที่ไหน วิธีการที่จะได้คำตอบ ปัญหา โจทย์คำตอบ ที่ต้องการ แนวคิด ทฤษฎี ศึกษาอะไร ศึกษาใคร ศึกษาที่ไหน การออกแบบวิจัย วิธีการที่จะได้คำตอบ
จะเขียนอย่างไร ชื่อเรื่อง - ศึกษาอะไร - ศึกษากับใคร - ศึกษาอะไร - ศึกษากับใคร วางแผนการบริหารเวลา - แผนงาน - แผนเวลา 3. คำสำคัญ (Key words) - เชื่อมโยงกับอะไรบ้าง
จะเขียนอย่างไร (ต่อ) คิด ค้น เขียน ความรู้ในตัวเรา ความรู้บนกระดาษ จะเขียนอย่างไร (ต่อ) คิด ค้น เขียน ความรู้ในตัวเรา ความรู้บนกระดาษ ความรู้นอกตัวเรา
จะเขียนอย่างไร (ต่อ) 4. ความเป็นมาของปัญหา ทำไมจึงทำ - มีความสำคัญ 4. ความเป็นมาของปัญหา ทำไมจึงทำ - มีความสำคัญ - เป็นปัญหา - ปัญหาแก้ได้ด้วยการวิจัย บูรณาการเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
จะเขียนอย่างไร (ต่อ) 5. วัตถุประสงค์ (และสมมติฐาน – ถ้ามี) 5. วัตถุประสงค์ (และสมมติฐาน – ถ้ามี) ทำไปเพื่อหาคำตอบอะไร โจทย์วิจัย - ชัดเจน - หาคำตอบได้ - ทดสอบได้ คาดคะเนคำตอบไว้ล่วงหน้าอย่างไร
จะเขียนอย่างไร (ต่อ) 6. ความสำคัญ ทำแล้วเอาไปใช้ประโยชน์อย่างไร 6. ความสำคัญ ทำแล้วเอาไปใช้ประโยชน์อย่างไร - ใครเอาไปใช้ ใช้อย่างไร 7. ขอบเขต เราศึกษาได้ไม่หมด จะกำหนดขอบเขตอย่างไร - สถานที่ - เนื้อหา ตัวแปร - ประชากร กลุ่มตัวอย่าง - ระยะเวลา
จะเขียนอย่างไร (ต่อ) 8. กรอบแนวคิด - งานวิจัยของเราอาศัยแนวคิด ทฤษฎีหรืองานวิจัยอะไรเป็นพื้นฐาน - แนวคิดของใคร สรุปว่าอย่างไร แล้วสรุปเป็นกรอบ 9. นิยามศัพท์ - ศัพท์ที่เฉพาะในงานวิจัยของเรา - สอดคล้องกับ Keyword
จะเขียนอย่างไร (ต่อ) 10. วิธีดำเนินการวิจัย จะเขียนอย่างไร (ต่อ) 10. วิธีดำเนินการวิจัย ทำอย่างไรจึงจะตอบโจทย์วิจัยได้ ประชากร – กลุ่มตัวอย่าง - กำหนดขนาด วิธีเลือก เครื่องมือ - ลักษณะ การสร้าง คุณภาพ วิธีเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล
จะเขียนอย่างไร (ต่อ) 11. ผลการวิจัย ทำแล้วพบอะไร จะเขียนอย่างไร (ต่อ) 11. ผลการวิจัย ทำแล้วพบอะไร ตอบโจทย์วิจัยทุกประเด็น 12. สรุป อภิปรายผล สรุปสิ่งที่ทำ วิธีทำ ข้อค้นพบ วิพากษ์วิธีทำ และสิ่งที่ค้นพบ - ต้องอ้างอิง
จะเขียนอย่างไร (ต่อ) 13. ข้อเสนอแนะ ผลการวิจัยนำไปทำอะไร จะเขียนอย่างไร (ต่อ) 13. ข้อเสนอแนะ ผลการวิจัยนำไปทำอะไร จะขยายงานวิจัยนี้ได้อย่างไร - ตามแนวนอน - ตามแนวตั้ง (ต่อยอด) 14. บรรณานุกรม สอดคล้องกับเชิงอรรถ