แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
Advertisements

บูรณาการสู่ความสำเร็จ
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
Research Mapping.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
สวัสดีครับ.
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย และการสนับสนุนของ กระทรวงสาธารณสุขหลังการถ่ายโอน ทรงยศ ชัยชนะ

ภารกิจของสถานีอนามัย

สาธารณสุขของท้องถิ่น บทบาทในฐานะหน่วยงาน สาธารณสุขของท้องถิ่น * เครือข่ายข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข * แผนยุทธศาสตร์สุขภาพของท้องถิ่น * การบังคับใช้พระราชบัญญัติการ สาธารณสุข พ.ศ. 2535 และ พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ

บทบาทในฐานะหน่วยงานสาธารณสุขของท้องถิ่น (ต่อ) * การเฝ้าระวังควบคุมโรค * สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม * การคุ้มครองผู้บริโภค * การสาธารณสุขมูลฐาน * ข้อบัญญัติด้านสาธารณสุข

2. บทบาทในฐานะสถานบริการสุขภาพ ระดับต้นของชุมชน 2.1 การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ควบคุมปัจจัยเสี่ยง ส่งเสริมวัฒนธรรมพฤติกรรมสุขภาพ 2.2 การรักษาพยาบาล ในคลินิก ในชุมชน (ครัวเรือน)

- วิจัย - ฝึกอบรม - สถานที่ศึกษาดูงาน 3. บทบาทในฐานะหน่วยงานด้านวิชาการ - วิจัย - ฝึกอบรม - สถานที่ศึกษาดูงาน

แนวทาง การปฏิบัติงานสาธารณสุข ในท้องถิ่น

รวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพในท้องถิ่น 1.1 ระบาดวิทยาของโรคและผู้ป่วยในท้องถิ่น 1.2 ทรัพยากรสาธารณสุข (ปริมาณ/ศักยภาพ) * สถานีอนามัย * คลินิก * แพทย์พื้นบ้าน * ร้ายขายยา * มูลนิธิ และ NGOs ที่ทำงานด้าน สาธารณสุข

* สถานที่สาธารณะ และบริการ เช่น โรงเรียน โรงแรม ร้านอาหาร 1.3 ปัจจัยเสี่ยงในชุมชน * สิ่งแวดล้อม * การคมนาคม * สถานที่สาธารณะ และบริการ เช่น โรงเรียน โรงแรม ร้านอาหาร โรงงานอุตสาหกรรม สถานประกอบการ ตลาดสด ฯลฯ * วัฒนธรรม พฤติกรรม และค่านิยม

2. จัดทำแผนนโยบายและยุทธศาสตร์ ท้องถิ่นแบบมีส่วนร่วม (แผนระยะสั้น/แผน ระยะยาว) 3. ประสานและสื่อสารกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง กับภาวะสุขภาพ 4. ให้ท้องถิ่น และผู้นำท้องถิ่นให้ความสำคัญ และสนับสนุนงานกด้านสาธารณสุข

5. จัดทำข้อบัญญัติงานสาธารณสุขด้าน งบประมาณ 6. จัดทำข้อบัญญัติด้านสาธารณสุขตาม พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 7. สร้างเสริมความเข้มแข็งของอาสาสมัคร สาธารณสุข และชมรมต่างๆ (ผู้สูงอายุ แม่บ้าน เยาวชน ฯลฯ

8. ทำงานในลักษณะ Health Care Facilitator, Health Care Manager มากกว่า Health Care Practitioner 9. หล่อหลอมตนเองเข้ากับวัฒนธรรมของ องค์กรท้องถิ่น เช่น สนใจความรู้สึกความ ต้องการของประชาชน / ชุมชน โดย ปรับงานและแนวทางปฏิบัติให้สอดคล้อง กับชุมชน

10. ยอมรับการเป็นผู้นำของผู้นำท้องถิ่น 11. สร้างความสัมพันธ์ที่ดีภายในองค์กร สร้างวิสัยทัศน์ร่วม และการทำงาน เป็นทีมร่วมกับปลัดฯ, ฝ่ายบริหาร , การคลัง, การโยธา, การศึกษา, พัฒนาสังคม และพัฒนาให้เป็นทีมงาน สาธารณสุข (เช่น การเฝ้าระวังฯ , การ เยี่ยมบ้าน, การสุขศึกษาและประชา สัมพันธ์)

การสนับสนุนของ กระทรวงสาธารณสุข

1. ทรัพยากรบุคคล 2. ข้อมูลข่าวสาร ผลิต / โครงการของท้องถิ่น อบรมและพัฒนาด้านเทคนิควิชาการ สนับสนุนการโอนย้าย 2. ข้อมูลข่าวสาร แผน/นโยบายกระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ของโรค

3. การประเมิน/กำกับ/ติดตาม 4. จัดทำมาตรฐานสถานที่/อาคาร/ บริการ/การปฏิบัติงาน/ อุปกรณ์เครื่องมือ 5. ประสานเชื่อมโยงให้เกิดเครือข่าย ระบบบริการสาธารณสุขที่มี ประสิทธิภาพ

SAWADDEE