ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Presentation slide for courses, classes, lectures et al.
Advertisements

ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
หัวข้อรายงาน และอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่ม
การเขียนบทความ.
ประสบการณ์การเขียนหนังสือ-ตำรา
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
ภาพรวมแนวคิดของโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
Management Information Systems
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
บทนิพนธ์ 1. รายงาน (Report) 2. ภาคนิพนธ์ (Term Paper)
การประเมินผลการเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การเขียนรายงานการวิจัย
เอกสารประกอบการสอน การรวบรวมใบความรู้เป็นรูปเล่ม
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
ท่านเกิดปัญหานี้หรือไม่
การเขียนรายงานการวิจัย
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การเขียนรายงานการวิจัย
แนวคิดในการทำวิจัย.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
การเขียนข้อเสนอโครงการ
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การเขียนรายงาน.
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
รูปแบบรายงาน.
การศึกษาค้นคว้า และการทำรายงาน
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
หน่วยที่ ๔ การเขียนรายงาน
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
การเขียนรายงาน.
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเขียนเสนอรายงานโครงงาน คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช การเขียนโครงร่างการวิจัย การเขียนตำราหรือหนังสือ โดย ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ตำรา หนังสือ เนื้อหาจะเป็นไปตาม course description ของวิชา

ขั้นตอนการเขียน กำหนดชื่อตำราหรือหนังสือ วางโครงเรื่อง ดำเนินการเขียน ตรวจสอบ ปรับปรุง

1. กำหนดชื่อเรื่อง ตำรา - วิชาใดวิชาหนึ่งที่สอน หนังสือ - เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอน - ประยุกต์องค์ความรู้เข้ากับปัญหาการศึกษา - ประยุกต์องค์ความรู้เข้ากับปัญหาสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม - ต่อยอดองค์ความรู้ - สร้างสรรค์ความรู้ใหม่

2. การวางโครงเรื่อง 2.2 การวางโครงเรื่องแต่ละบท 2.1 การวางโครงเรื่องในภาพรวม 2.2 การวางโครงเรื่องแต่ละบท

2. การวางโครงเรื่อง 2.1 การวางโครงเรื่องภาพรวม ชื่อตำรา / หนังสือ บทที่ 1 ...................... บทที่ 2 ...................... บทที่ 3 ....................... บทที่ 4 ...................... บทที่ 5 ......................

แนวคิด 1. ……… 2. ……… 3. ……… 4. ……… 5. ……… วัตถุประสงค์

2.1 โครงเรื่องของตำรา / หนังสือในภาพรวม ชื่อตำรา / หนังสือ คำนำ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5 บทที่ 6 บรรณานุกรม

การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้สำหรับประเทศไทย บทที่ 1 ความหมาย ความสำคัญ และความเป็นมาสังคมแห่งการเรียนรู้ บทที่ 2 หลักการของสังคมแห่งการเรียนรู้ บทที่ 3 องค์ประกอบของสังคมแห่งการเรียนรู้ บทที่ 4 ขั้นตอนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ บทที่ 5 กรณีตัวอย่างสังคมแห่งการเรียนรู้ในประเทศต่างๆ บทที่ 6 แนวทางการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้สำหรับประเทศไทย

แนวคิด 1. สังคมแห่งการเรียนรู้เป็นสังคมที่ใช้การศึกษาหรือการเรียนรู้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาสังคม มีความสำคัญคือจะทำให้ประชาชนในสังคมมีการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองครอบครัวและชุมชน สังคมแห่งการเรียนรู้เริ่มต้นตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา 2. ………. 3. องค์ประกอบของสังคมแห่งการเรียนรู้ประกอบด้วย ผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ องค์กรแห่งการเรียนรู้ บุคคลแห่งการเรียนรู้ 4. ………. 5. ……….

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้อ่าน 1. เข้าใจความหมายและความเป็นมาของสังคมแห่งการเรียนรู้และเห็นความสำคัญของการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 2. เข้าใจและสามารถสรุปหลักการของสังคมแห่งการเรียนรู้ได้ 3. ………. 4. ………. 5. ……….

2.2 โครงเรื่องแต่ละบท บทที่ 1 1.1 .......... 1.2 .......... 1.3 .......... แนวคิด 1. .......... 2. .......... 3. ..........

บทที่ 1 ความหมาย ความสำคัญ และความเป็นมาของสังคมแห่งการเรียนรู้ 1 บทที่ 1 ความหมาย ความสำคัญ และความเป็นมาของสังคมแห่งการเรียนรู้ 1.1 ความหมายของสังคมแห่งการเรียนรู้ 1.2 ความสำคัญของสังคมแห่งการเรียนรู้ 1.3 ความเป็นมาของสังคมแห่งการเรียนรู้ แนวคิด 1. สังคมแห่งการเรียนรู้หมายถึง .......... 2. สังคมแห่งการเรียนรู้มีความสำคัญที่จะช่วยให้ .......... 3. แนวคิดเรื่องสังคมแห่งการเรียนรู้มีความสัมพันธ์กับการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยเริ่มมาตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 19 ถึงปัจจุบัน

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้อ่าน เข้าใจความหมายของสังคมแห่งการเรียนรู้ สามารถระบุความสำคัญของสังคมแห่งการเรียนรู้ได้ สามารถสรุปความเป็นมาของสังคมแห่งการเรียนรู้ได้

3. ดำเนินการเขียน - ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากแหล่งต่างๆ - เรียบเรียงตามโครงเรื่อง/แนวคิดที่กำหนดไว้ในแต่ละประเด็น - การลำดับเนื้อหา - ความเชื่อมโยงสอดคล้อง - การแบ่งย่อหน้า - การกำหนดหัวข้อ

- การยกตัวอย่างประกอบ - การอ้างอิง - การเขียน การพิมพ์ ถูกต้อง - ความทันสมัยของเนื้อหา - การยกตัวอย่างประกอบ - การอ้างอิง - การเขียน การพิมพ์ ถูกต้อง - การเขียนบรรณานุกรม

4. การตรวจสอบ ความครอบคลุมของเนื้อา ลำดับเนื้อหา ความถูกต้องของเนื้อหา ความชัดเจนในการนำเสนอ ความเข้าใจในเนื้อหา การพิมพ์

ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผู้อ่าน/ ผู้ทรงคุณวุฒิ 5.การปรับปรุง ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผู้อ่าน/ ผู้ทรงคุณวุฒิ ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี