ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช การเขียนโครงร่างการวิจัย การเขียนตำราหรือหนังสือ โดย ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ตำรา หนังสือ เนื้อหาจะเป็นไปตาม course description ของวิชา
ขั้นตอนการเขียน กำหนดชื่อตำราหรือหนังสือ วางโครงเรื่อง ดำเนินการเขียน ตรวจสอบ ปรับปรุง
1. กำหนดชื่อเรื่อง ตำรา - วิชาใดวิชาหนึ่งที่สอน หนังสือ - เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอน - ประยุกต์องค์ความรู้เข้ากับปัญหาการศึกษา - ประยุกต์องค์ความรู้เข้ากับปัญหาสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม - ต่อยอดองค์ความรู้ - สร้างสรรค์ความรู้ใหม่
2. การวางโครงเรื่อง 2.2 การวางโครงเรื่องแต่ละบท 2.1 การวางโครงเรื่องในภาพรวม 2.2 การวางโครงเรื่องแต่ละบท
2. การวางโครงเรื่อง 2.1 การวางโครงเรื่องภาพรวม ชื่อตำรา / หนังสือ บทที่ 1 ...................... บทที่ 2 ...................... บทที่ 3 ....................... บทที่ 4 ...................... บทที่ 5 ......................
แนวคิด 1. ……… 2. ……… 3. ……… 4. ……… 5. ……… วัตถุประสงค์
2.1 โครงเรื่องของตำรา / หนังสือในภาพรวม ชื่อตำรา / หนังสือ คำนำ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5 บทที่ 6 บรรณานุกรม
การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้สำหรับประเทศไทย บทที่ 1 ความหมาย ความสำคัญ และความเป็นมาสังคมแห่งการเรียนรู้ บทที่ 2 หลักการของสังคมแห่งการเรียนรู้ บทที่ 3 องค์ประกอบของสังคมแห่งการเรียนรู้ บทที่ 4 ขั้นตอนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ บทที่ 5 กรณีตัวอย่างสังคมแห่งการเรียนรู้ในประเทศต่างๆ บทที่ 6 แนวทางการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้สำหรับประเทศไทย
แนวคิด 1. สังคมแห่งการเรียนรู้เป็นสังคมที่ใช้การศึกษาหรือการเรียนรู้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาสังคม มีความสำคัญคือจะทำให้ประชาชนในสังคมมีการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองครอบครัวและชุมชน สังคมแห่งการเรียนรู้เริ่มต้นตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา 2. ………. 3. องค์ประกอบของสังคมแห่งการเรียนรู้ประกอบด้วย ผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ องค์กรแห่งการเรียนรู้ บุคคลแห่งการเรียนรู้ 4. ………. 5. ……….
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้อ่าน 1. เข้าใจความหมายและความเป็นมาของสังคมแห่งการเรียนรู้และเห็นความสำคัญของการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 2. เข้าใจและสามารถสรุปหลักการของสังคมแห่งการเรียนรู้ได้ 3. ………. 4. ………. 5. ……….
2.2 โครงเรื่องแต่ละบท บทที่ 1 1.1 .......... 1.2 .......... 1.3 .......... แนวคิด 1. .......... 2. .......... 3. ..........
บทที่ 1 ความหมาย ความสำคัญ และความเป็นมาของสังคมแห่งการเรียนรู้ 1 บทที่ 1 ความหมาย ความสำคัญ และความเป็นมาของสังคมแห่งการเรียนรู้ 1.1 ความหมายของสังคมแห่งการเรียนรู้ 1.2 ความสำคัญของสังคมแห่งการเรียนรู้ 1.3 ความเป็นมาของสังคมแห่งการเรียนรู้ แนวคิด 1. สังคมแห่งการเรียนรู้หมายถึง .......... 2. สังคมแห่งการเรียนรู้มีความสำคัญที่จะช่วยให้ .......... 3. แนวคิดเรื่องสังคมแห่งการเรียนรู้มีความสัมพันธ์กับการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยเริ่มมาตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 19 ถึงปัจจุบัน
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้อ่าน เข้าใจความหมายของสังคมแห่งการเรียนรู้ สามารถระบุความสำคัญของสังคมแห่งการเรียนรู้ได้ สามารถสรุปความเป็นมาของสังคมแห่งการเรียนรู้ได้
3. ดำเนินการเขียน - ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากแหล่งต่างๆ - เรียบเรียงตามโครงเรื่อง/แนวคิดที่กำหนดไว้ในแต่ละประเด็น - การลำดับเนื้อหา - ความเชื่อมโยงสอดคล้อง - การแบ่งย่อหน้า - การกำหนดหัวข้อ
- การยกตัวอย่างประกอบ - การอ้างอิง - การเขียน การพิมพ์ ถูกต้อง - ความทันสมัยของเนื้อหา - การยกตัวอย่างประกอบ - การอ้างอิง - การเขียน การพิมพ์ ถูกต้อง - การเขียนบรรณานุกรม
4. การตรวจสอบ ความครอบคลุมของเนื้อา ลำดับเนื้อหา ความถูกต้องของเนื้อหา ความชัดเจนในการนำเสนอ ความเข้าใจในเนื้อหา การพิมพ์
ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผู้อ่าน/ ผู้ทรงคุณวุฒิ 5.การปรับปรุง ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผู้อ่าน/ ผู้ทรงคุณวุฒิ ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี