ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
Advertisements

ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข และตัวชี้วัด ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน คป.สอ.สตูล
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐
คุ้มครองผู้บริโภคก้าวไกล คนไทยมีส่วนร่วม
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
กระบวนการจัดการความรู้
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
ความหมายและกระบวนการ
เกิดได้ก็ดี คาดว่าต้องเกิด ต้องเกิด เกษตรปลอดสาร ประชาชนฉลาดซื้อ ฉลาดใช้ ฉลาดกิน มีศูนย์รับข้อร้องเรียน คาดว่าต้องเกิด ครัวเรือนปลูกผักกินเอง “
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
โครงการ ร้านก๋วยเตี๋ยวมาตรฐาน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ( ใ น พื้ น ที่ เ ข ต เ ท ศ บ า ล น ค ร สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี )
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการดำเนินงานการตั้งครรภ์หญิง วัยรุ่น o ๑. มาตรการด้านบริหารจัดการ การประชุมพิจารณา กรอบแนวทางการประเมินผลตามตัวชี้วัด และ มาตรฐานการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญ.
เรื่องเพื่อพิจารณาจากคณะ กรรมการบริหารจัดการสมัชชา สุขภาพจังหวัด วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗.
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
เสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัดผลงาน 1. มีการคณะกรรมการ หรือ คณะอนุกรรมการ.
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
จำนวนของครัวเรือนยากจนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายการดำเนินงานอาหารปลอดภัย เพื่อคุ้มครองสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ประจำปี ๒๕๕๕

ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก การขับเคลื่อนเพื่ออาหารปลอดภัย........ ........เป็นไปตามทิศทางการไหลของน้ำ ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก กลางน้ำ : โรงฆ่าสัตว์ สถานที่แปรรูป โรงงานผลิตอาหาร ปลายน้ำ : ตลาดค้าส่ง ตลาดสด ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร โรงครัวในโรงพยาบาล โรงอาหารในโรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก

ตัวชี้วัด : ๐๒๐๗ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน อาหารปลอดภัยเพื่อคุ้มครองสุขภาพ

บันได ๕ ขั้น สู่อาหารปลอดภัย ขั้น ๕ มีผลดำเนินการ ตามแผนฯ ขั้น ๔ มีจุดประสานงานและเครือข่ายการจัดการ กรณีตรวจพบความไม่ปลอดภัยในอาหาร ขั้น ๓ มีระบบการเฝ้าระวังและมาตรการแก้ไขปัญหา กรณีตรวจพบความไม่ปลอดภัยในอาหาร ขั้น ๒ มีการดำเนินงานตามแผนบูรณาการอาหารปลอดภัย ขั้น ๑ จัดทำแผนบูรณาการอาหารปลอดภัย โดยได้รับความเห็นชอบจากนายอำเภอ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ส่ง สสจ.ขอนแก่น ภายใน ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๕

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน = ๑ เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน = ๑ : จัดทำแผนบูรณาการอาหารปลอดภัย ประจำปี งบประมาณพ.ศ. ๒๕๕๕ โดยได้รับความเห็นชอบจากนายอำเภอหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย (๐.๕ คะแนน) : จัดส่งให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ภายใน วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๕ (๐.๕ คะแนน)

หลักฐานประกอบการประเมิน ระดับคะแนน = ๑ : รายงานสรุปผลการดำเนินงาน อาหารปลอดภัยปี ๒๕๕๔ : แผนบูรณาการอาหารปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน = ๒ เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน = ๒ : ผ่านเกณฑ์ระดับคะแนน = ๑ : มีการดำเนินงานตามแผนบูรณาการ อาหารปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕

หลักฐานประกอบการประเมิน ระดับคะแนน = ๒ : บันทึก/รายงานผลการดำเนินงานตามแผน : ปฏิทินการดำเนินงาน (Gantt Chart) : ภาพถ่าย รายงานการประชุม

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน = ๓ เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน = ๓ : ผ่านเกณฑ์ระดับคะแนน = ๒ : มีระบบการเฝ้าระวังและมาตรการแก้ไขปัญหา กรณีตรวจพบความไม่ปลอดภัยในอาหาร

หลักฐานประกอบการประเมิน ระดับคะแนน = ๓ : เอกสารแสดงกลไกและขั้นตอนการบริหาร จัดการการเฝ้าระวังและมาตรการแก้ไขปัญหา กรณีตรวจพบความไม่ปลอดภัยในอาหาร แนวทางการจัดการ ๑.แจ้งผู้ประกอบการให้หยุดจำหน่าย ๒.แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๓.ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ ๔.ดำเนินการตามกฎหมาย

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน = ๔ เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน = ๔ : ผ่านเกณฑ์ระดับคะแนน = ๓ : มีจุดประสานงานและเครือข่ายการจัดการ กรณีเกิดอุบัติการณ์ด้านความปลอดภัยอาหาร แบบบูรณาการ

หลักฐานประกอบการประเมิน ระดับคะแนน = ๔ : มีคณะกรรมการและจุดประสานงานเพื่อเตรียม ความพร้อมและตอบโต้เมื่อเกิดอุบัติการณ์ด้าน ความปลอดภัยอาหารและโรคติดต่อทางอาหาร และน้ำ : มีแผนการจัดการด้านความปลอดภัยอาหาร แบบบูรณาการในระดับอำเภอ (Road Map)

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน = ๕ เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน = ๕ : ผ่านเกณฑ์ระดับคะแนน = ๔ : มีผลการดำเนินการตามแผนบูรณาการ อาหารปลอดภัย เพื่อคุ้มครองสุขภาพและ ลดอุบัติการณ์อาหารเป็นพิษ

หลักฐานประกอบการประเมิน ระดับคะแนน = ๔ : ผลการเฝ้าระวังและมาตรการแก้ไขปัญหา กรณีตรวจพบความไม่ปลอดภัยในอาหาร ๑.รายงานสรุปผลการตรวจสอบตัวอย่าง อาหารตามแผนเฝ้าระวังฯไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๙๐ ของแผน

หลักฐานประกอบการประเมิน ระดับคะแนน = ๔ : ๒.เอกสาร/หลักฐานที่แสดงจำนวนตัวอย่าง ที่เก็บ/จำนวนและแหล่งที่มาของตัวอย่างที่ไม่ ปลอดภัย/ร้อยละของตัวอย่างที่ผ่านเกณฑ์ ความปลอดภัย ๓.รายงานการตรวจและแนะนำด้านสุขาภิบาล อาหารและน้ำ ในสถานที่จำหน่ายและบริการ อาหารตามแผนงานที่กำหนดไม่ต่ำกว่า ร้อยละ ๙๐ ของแผน

หลักฐานประกอบการประเมิน ระดับคะแนน = ๔ : สรุปรายงานผลการจัดการด้านความปลอดภัย อาหารและอุบัติการณ์โรคอาหารเป็นพิษแบบ บูรณาการในระดับจังหวัดรอบ ๖ เดือน ๙ เดือน และ ๑๒ เดือน โดยระบุถึงปัญหา สาเหตุ แหล่งที่มาของอาหารที่เป็นปัญหา รวมทั้งมาตร การการแก้ไขปัญหาและป้องกันการเกิดซ้ำ