G3X Series Fixed Wireless Terminals for GSM/EDGE Networks

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นายทรงชัย ลิ้มไกลท่า หัวหน้าฝ่ายอำนวยการสื่อสาร
Advertisements

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
ห้องปฏิบัติการต่างๆ.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
(Telephone Billing System)
การใช้งานโปรแกรม 7 สิงหาคม 2555.
EDGE GPRS.
3.3ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ลำโพง (Loud Speaker).
Wireless Local Loop (WLL)
TelecommunicationAndNetworks
EDGE.
Personal Area Network (PAN)
อุปกรณ์ X.25 และระบบโปรโตคอล ขอความกรุณาอย่าสงสัย OK
พ.จ.อ.ภาคภูมิ โชติสุวรรณกุล
การต่อใช้งานเครือข่าย VPN ศูนย์สารสนเทศฯ
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
1). ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN)
คณะกรรมการ “รวมพลังศรีปทุมหารสอง”
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
ข้อดี-ข้อเสียของ สื่อกลาง ในการสื่อสารข้อมูล.
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อดี-ข้อเสียของสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
การดูแลรักษาเครื่องวิทยุคมนาคม
หลักเกณฑ์ และ ระเบียบการเงิน สำหรับเครือข่าย iTAP
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
สำนักงานขนส่งจังหวัดอุบลราชธานี
ห้องเรียน ขนาด 30 ที่นั่ง มีแอร์ จอโปรเจ็คเตอร์
Business Presentation Year 2014
Business Presentation Year 2014 Zavetrue Service.…We can save up your business telephone cost !! 15 January 2014.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ข้อควรระวังในการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องโทรสาร, FAX
การนำข้อมูลเข้าระบบ GFMIS
การหาพิกัดภูมิศาสตร์ โครงการส่งเสริมและลดต้นทุนการผลิตข้าว
องค์ประกอบของระบบเครือข่าย
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
บทที่ 3-3 วิธีตั้งค่าเชื่อมต่อ Wi-Fi และตั้งค่า Hotspot แชร์อินเทอร์เน็ต ที่มา
องค์ประกอบ ระบบสื่อสาร ข้อมูล. จัดทำโดย นายพีรพัฒน์ปาคำ ม.4/1 เลขที่ 3 นางสาวจามจุรีเขียวสอาด ม.4/1 เลขที่ 40 เสนอ อาจารย์ กรกนก เตชะชัย โรงเรียนน่านนคร.
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
หลักสูตรการบำรุงรักษาระบบโทรศัพท์
อาจารย์จังหวัด ศรีสลับ เสนอ จัดทำ โดย แผนก คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ นางสาวสุวรรณ รัตน์ ดำรัส นางสาวศศิธร ดำเกิงพันธุ์
Fring.
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
เครื่องสำรองไฟฟ้า(UPS)
งบเงินอุดหนุน ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
มาตรการประหยัดพลังงาน
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
ICQ I SEEK YOU.
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
NETWORK.
สายคู่บิด เกลียว ข้อดี ราคาไม่แพงมาก น้ำหนักเบา ติดตั้ง ง่าย ข้อเสีย จำกัดความเร็วใช้กับระยะทางสั้นๆ ในกรณีเป็นสายแบบ ไม่มีชีลด์ ก็จะไวต่อ สัญญาณรบกวน.
ด. ช. พงศกร ภูมิ โคกรักษ์ ม.2/5 เลขที่ 32 โรงเรียนจักรคำ คณาทร.
คณะผู้จัดทำ 1. ด. ญ. สุกันยา มะลิวัลย์ 2. ด. ญ. พชรมน กองอรรถ 3. ด. ญ. สุรัสวดี ภู่รักษ์ เสนอ อาจารย์ พรทิพย์ ตองติดรัมย์ เครือข่ายระบบไร้สาย wirless LAN.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การนำเสนองานด้วย PowerPoint อย่างมีประสิทธิภาพ
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แนะนำ โปรแกรม Fring. แนะนำ โปรแกรม Fring รายละเอียดของโปรแกรม Fring ประเภท: เครือข่ายสังคม อัปเดตเมื่อ: 6 ม.ค เวอร์ชัน:  ขนาด: 13.0 MB.
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย นางสาวมินตรา โคตร ธรรม ชั้น ม.4/3 เลขที่ 3.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

G3X Series Fixed Wireless Terminals for GSM/EDGE Networks

อุปกรณ์มาตรฐาน G3x Series เครื่อง FWT เสาอากาศ ชุดน็อตติดตั้ง สายไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า แผ่นแขวนผนัง สายโทรศัพท์ 5 ม. คู่มือการใช้งาน ซีดี (เฉพาะรุ่น G31,G32 และ G36

ลักษณะภายนอกตัวเครื่อง

ลักษณะภายในตัวเครื่อง

ด้านใต้ของเครื่อง รุ่น G30 ,G35 ไม่มี USB พอร์ต รุ่น G32 ,G36

ด้านบนของเครื่อง (สำหรับต่อเสาอากาศ)

การประกอบใช้งาน กดปุ่ม เปิดฝา เพื่อ ใส่ซิมการ์ด หมุนเกลียวเพื่อติดตั้ง เสาอากาศกับตัวเครื่อง

ต่อหม้อแปลงไฟฟ้าเข้ากับสายไฟ และเสียบเข้าเครื่อง ต่อสายโทรศัพท์เข้ากับพอร์ต RJ11

ต่อสายโทรศัพท์เข้ากับเครื่องโทรศัพท์ หรือต่อเข้ากับตู้สาขาโทรศัพท์

หรือต่อพ่วงกับอุปกรณ์อื่นๆ ที่รองรับกับใช้งาน เช่น คอมพิวเตอร์ หรือเครื่องโทรสาร

ไฟแสดงสถานะการทำงาน สัญญาณไฟสีเขียวดวงบน แสดงสัญญาณโทรศัพท์ สัญญาณไฟสีเขียวดวงบน แสดงสัญญาณโทรศัพท์ ไฟสีเขียวไม่ติด คือ ไม่มีสัญญาณ ไฟสีเขียวกระพริบ 1 ครั้ง คือ สัญญาณพอใช้ ไฟสีเขียวกระพริบ 2 ครั้ง คือ สัญญาณดี ไฟสีเขียวกระพริบ 3 ครั้ง คือ สัญญาณดีมาก ไฟสีเขียวติดค้าง คือ สัญญาณดีที่สุด สัญญาณไฟสีเขียวดวงล่าง แสดงสถานะระบบไฟ ไฟสีไม่ติด คือ อุปกรณ์ไม่ได้รับการจ่ายไฟ และไม่พร้อมใช้งาน ไฟติดค้าง คือ อุปกรณ์ได้รับการจ่ายไฟจากหม้อแปลงไฟฟ้า และพร้อมใช้งาน ไฟสีแดง คือ อุปกรณ์ได้รับการจ่ายไฟจากแบตเตอรี่สำรองไฟ และพร้อมใช้งาน

การเลือกสถานที่ติดตั้ง สถานที่ติดตั้งต้องอยู่ภายในตัวอาคาร ควรหลีกเลี่ยงสถานที่ที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายกับตัวเครื่อง Ericsson ไม่ว่าจากบุคคล หรือ อุปกรณ์ต่างๆ ไม่ควรติดตั้งตัวเครื่อง Ericsson บนผนังที่มีสายไฟ สาย Cables จำนวนมาก หรือ บน โครงสร้างที่ทำด้วยเหล็ก สถานที่ติดตั้ง จะต้องไม่ทำให้ตัวเครื่อง Ericsson โดนน้ำ หรือ ความชื้น สถานที่ติดตั้ง จะต้องไม่ทำให้ตัวเครื่อง Ericsson โดนอุณหภูมิสูง สถานที่ติดตั้ง จะต้องไม่ทำให้ตัวเครื่อง Ericsson โดนแสงแดดโดยตรง

การเลือกสถานที่ติดตั้ง (2) 3 เมตร 2 เมตร ใกล้หน้าต่าง ไม่โดนแสงแดดโดยตรง ตรวจสอบสัญญาณให้ดีที่สุด

ความยาวสายโทรศัพท์ ไม่ควรเกิน 600 เมตร การเลือกสถานที่ติดตั้ง (3) กรณีติดตั้งกับตู้สาขาโทรศัพท์ 30 เซนติเมตร 3 เมตร ระยะห่างระหว่างตู้ PBX และ เครื่อง Ericsson 2 เมตร 30 เซนติเมตร ความยาวสายโทรศัพท์ ไม่ควรเกิน 600 เมตร

การติดตั้งอุปกรณ์กับตู้สาขาระบบทั่วไป

การติดตั้งอุปกรณ์กับตู้สาขาระบบทั่วไป (2) ติดตั้งเครื่อง Ericsson เข้ากับ C/O (Analog Port) ของตู้ PBX ตั้ง Access No. 9 (กด 9 ก่อนกดเลขหมายปลายทาง) สำหรับให้ตู้ PBX เลือกสายปกติในการโทรออกภายใน Local (เสียครั้งละ 3 บาท) และโทรต่างประเทศ (เสียค่าบริการตามอัตราของการสื่อสารแห่งประเทศไทย) ในกรณีต้องการ โทรไปต่างจังหวัด หรือ โทรเข้ามือถือ ให้ตั้ง Access No.8 (กด 8 ก่อนกดเลขหมายปลายทาง) หรือ Access No.อื่นที่ว่าง สำหรับให้ตู้ PBX เลือกสายที่ต่อกับเครื่อง Ericsson ในการโทรออก ซึ่งจะเสียค่าบริการอัตราเดียว (ขึ้นอยู่กับโปรโมชั่นที่เลือก) ในกรณีสายเรียกเข้า ให้ตั้งการเรียกเข้าปกติเหมือนสายนอกทั่วไป เช่น หากต้องการให้สายเรียกเข้าดังที่ประชาสัมพันธ์ ก็ให้ตั้งว่าหากมีสายเข้ามาจากเครื่อง Ericsson ก็ให้ไปดังที่ประชาสัมพันธ์เช่นกัน

การติดตั้งอุปกรณ์กับตู้ที่มีระบบ Least Cost Routing

การติดตั้งอุปกรณ์กับตู้ที่มีระบบ Least Cost Routing (2) ติดตั้งเครื่อง Ericsson เข้ากับ C/O (Analog Port) ของตู้ PBX ตั้งระบบ LCR กรณีผู้ใช้งานกดหมายเลข Local Call 02 XXX XXXX และ โทรทางไกลต่างประเทศ 001 XXX XXXX ให้ตู้ PBX เลือกสายปกติในการโทรออก ซึ่งจะเสียค่าใช้บริการ ครั้งละ 3 บาทสำหรับ Local Call ส่วนค่าโทรต่างประเทศ เสียค่าบริการตามที่การสื่อสารแห่งประเทศไทยกำหนด ในกรณีที่ผู้ใช้งานกดหมายเลขอื่นที่ไม่ใช่ 02 และ 001 ให้ตู้ PBX เลือกสายที่ติดตั้งกับเครื่อง Ericsson เพื่อโทรผ่านทางเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ ซึ่งจะเสียค่าบริการในอัตราเดียว (ขึ้นอยู่กับโปรโมชั่นที่เลือก) ให้ตั้งระบบ LCR เพิ่มเติม หากกรณีที่คู่สายที่ติดตั้งกับเครื่อง Ericsson ถูกใช้งานทุกสาย และมีผู้ใช้งานกดหมายเลขที่ไม่ใช่ 02 และ 001 เข้ามา ให้ตู้ PBX เลือกสายปกติในการโทรออก ทั้งนี้เพื่อป้องกันการโทรไม่ออกของผู้ใช้งานในช่วงเวลาเร่งด่วน ในกรณีสายเรียกเข้า ให้ตั้งการเรียกเข้าปกติเหมือนสายนอกทั่วไป เช่น หากต้องการให้สายเรียกเข้าดังที่ประชาสัมพันธ์ ก็ให้ตั้งว่าหากมีสายเข้ามาจากเครื่อง Ericsson ก็ให้ไปดังที่ประชาสัมพันธ์เช่นกัน