มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
Advertisements

โดย นายนิตย์ ทองเพชรศรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
Research Mapping.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
ความหมายและกระบวนการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สวัสดีครับ.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ ล้านคน
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการดำเนินงาน แม่บ้านสาธารณสุข
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน โดย...นายแพทย์แสวง หอมนาน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครนายก

1.เข้าใจหลักการของกองทุนฯ การกระจายอำนาจ (การตัดสินใจ,การบริหารจัดการ) เพิ่มการเข้าถึงบริการส่งเสริม/ป้องกัน/ฟื้นฟูที่บ้าน/ชุมชน สร้างความร่วมมือระหว่างอปท./หน่วยบริการ/ประชาชน สร้างการมีส่วนร่วม/เป็นเจ้าของระบบสุขภาพของประชาชน สร้างนวัตกรรมการดูแลสุขภาพโดยชุมชนและประชาชน เสริมศักยภาพท้องถิ่น ในการสร้างสุขภาพชุมชน

1.เข้าใจวัตถุประสงค์ของกองทุน 2.การบริหารจัดการกองทุน 2.คัดเลือกและพัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนฯ 1.เข้าใจวัตถุประสงค์ของกองทุน 2.การบริหารจัดการกองทุน 3.อำนาจหน้าที่ของกรรมการกองทุนฯ

1.มีการดำเนินงานที่เป็นตัวอย่าง 3.พัฒนากองทุนฯให้เป็นศูนย์เรียนรู้ 1.มีการดำเนินงานที่เป็นตัวอย่าง 2.การบริหารจัดการกองทุนเป็นไปตามระเบียบ 3.การดำเนินงานต่อเนื่อง

ค้นพบปัจจัยแห่งความสำเร็จ 4.การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ค้นพบปัจจัยแห่งความสำเร็จ ผู้นำมีวิสัยทัศน์ด้านสุขภาพ ทีมคณะกรรมการเข้มแข็ง (รู้ เข้าใจ หลักบริหารกองทุน ) เครือข่ายสุขภาพในชุมชนเข้มแข็ง อสม./ผู้สูงอายุ/จิตอาสา บันทึกโปรแกรมการบริหารจัดการกองทุนถูกต้อง ครบถ้วน ค้นหานวัตกรรมเพื่อแก้ปํญหาที่เกิดในพื้นที่

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานกองทุน ณ อบต.พระอาจารย์ อ.องครักษ์

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานกองทุน ณ ที่ว่าการอำเภอเมือง อ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานกองทุน ณ ที่ว่าการอำเภอเมือง อ.เมืองนครนายก

ด้านผลงาน 5.การประเมินผลกองทุน 1. กองทุนศักยภาพดีเด่น , grade A+ (90-100) 8 แห่ง 2. กองทุนศักยภาพดี , grade A (70-89) 27 แห่ง 3. กองทุนศักยภาพปานกลาง , grade B (50-69) 9 แห่ง 4. กองทุนที่ต้องเร่งพัฒนา, grade C ( 0- 49 ) ** 1 แห่ง

5.การประเมินผลกองทุน(ต่อ) ปัจจัยขัดขวาง - ผู้นำ และ เลขากองทุนมารับงานใหม่ - คณะกรรมการไม่เข้มแข็ง ปัจจัยแห่งความสำเร็จ - ผู้นำ รู้และเข้าใจกองทุน - การทำงานเป็นทีม - การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ท้องถิ่น สาธารณสุข ประชาชน องค์กรในพื้นที่

ประเมินผลการดำเนินงานกองทุน 2556 6.เยี่ยมสนับสนุน การบริหารจัดการและการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น จังหวัดนครนายก ปี 2557 20 มค. 57 ทต.เกาะหวาย อบต.ท่าเรือ 23 มค. 57 ทต.ท่าช้าง อบต.หินตั้ง 7 กพ. 57 ทต.บ้านนา อบต.บ้านพริก 12 กพ. 5 อบต.คลองใหญ่ 17 กพ. 57 อบต.ชุมพล ประเมินผลการดำเนินงานกองทุน 2556 1. กองทุนศักยภาพดีเด่น grade A+ (90-100) 8 แห่ง 2. กองทุนศักยภาพดี grade A (70-89) 27 แห่ง 3. กองทุนศักยภาพปานกลาง grade B (50-69) 9 แห่ง 4. กองทุนที่ต้องเร่งพัฒนา grade C ( 0- 49 ) ** 1 แห่ง โดย..คณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับจังหวัดนครนายก & สปสช.เขต 4 สระบุรี

สิ่งได้เรียนรู้จากกองทุน....grad b-c 1. ไม่มีการประชุมของคณะกรรมการบริหารกองทุนใน 1 ปีที่ผ่านมา 2. คณะกรรมการบริหารกองทุนขาดความเข้าใจเรื่อง 2.1 วัตถุประสงค์การดำเนินงานกองทุน 2.2 บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.3 ระเบียบการจ่ายเงินกองทุนฯ 3. ขาดการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการบริหารกองทุน และประชาชนในชุมชนในการค้นหา และวางแผนดำเนินงาน ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและฟื้นฟูสุขภาพ ส่งผลให้เงินคงเหลือบัญชีสูง

ข้อเสนอแนะจากคณะอนุกรรมการฯ และ สปสช. 1. กองทุนออกแบบมาให้บริหารงานในรูปคณะกรรมการ ดังนั้น 1.1 คณะกรรมการทุกคนควรเข้ารับการอบรมฟื้นฟูทุกต้นปีจากทีม สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ร่วมกับศูนย์เรียนรู้ระดับอำเภอ 1.2 ประชุมคณะกรรมการอย่างน้อย 1ครั้ง/ 2 เดือน เพื่อ... อนุมัติโครงการ/ติดตามสรุปผลการดำเนินงาน และประเมินผล การดำเนินงาน 2. คณะกรรมการและชุมชน เป็นเจ้าของงบประมาณ ดังนั้นต้องมีการ 2.1 จัดเวทีประชาคมค้นหาปัญหา จัดลำดับ จัดทำโครงการ 2.2 อนุมัติโครงการในกรอบวัตถุประสงค์กองทุนและประเภท กิจกรรม( 4 ประเภท)

เทศบาลตำบลเกาะหวาย ( 20 มกราคม 2557 ) แลกเปลี่ยน....เรียนรู้...มุ่งสู่เกรด A+ เทศบาลตำบลเกาะหวาย ( 20 มกราคม 2557 )

สวัสดี