นิวคาสเซิล ไปถึงไหนกันแล้ว?

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ประเมินความเสี่ยง  ช่องว่างของภูมิต้านทานโรค  ประชาชนที่ยังไม่มีภูมิต้านทานโรค ในกลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือเกิด ในช่วงต้นของ EPI และในเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนครบ.
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
การกำหนดมาตรฐานอื่นๆ เรื่องโครงสร้างกายภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
โรคเอสแอลอี.
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
วิธีการทางวิทยาการระบาด
ผลการปฏิบัติงานด้านสุขภาพสัตว์
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
Papaya Ring Spot Virus (Potyviridae) จัดทำโดย
โรคฝีดาษไก่ (Pox disease)
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
โรคคอตีบ (Diphtheria)
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
ปัญหาสุขภาพจิตและ ฆ่าตัวตายจังหวัดเชียงราย
โรคสำคัญที่พบในการเลี้ยงไก่ฟ้า รศ. น. สพ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
5ส เพื่อการเพิ่มผลผลิต
รวบรวมเทคนิคและเคล็ดลับการสอบสวนโรค ประสบการณ์ภาคสนาม
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
MOPH operation center MOPH operation center 20 May 2009.
ส่วนวิศวกรรมธรณี สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
 จากข้อมูลผลการตรวจ NSP ในโคเนื้อของจังหวัดใน พื้นที่สำนักงานปศุสัตว์เขต 6 ทั้ง 9 จังหวัด พบผล NSP+ จำนวน 97 ตัวอย่าง คิดเป็น 28.86% ซึ่งแสดงถึง สัตว์ที่เก็บตัวอย่างส่งตรวจ.
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
Lesson 10 Software Evolution
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ส่วนสุขภาพสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์เขต 6 สรุปผลการปฏิบัติงานรอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ 2557.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ปฏิญญาสากลว่าด้วยเรื่อง สิทธิมนุษยชน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นิวคาสเซิล ไปถึงไหนกันแล้ว? รองศาสตราจารย์ น.สพ. ดร. ทวีศักดิ์ ส่งเสริม คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ. นครปฐม 73140 089-8343536 fvettss@ku.ac.th

โรคนิวคาสเซิล แบ่งตามความรุนแรงของการเกิดโรค ได้ 3 กลุ่มใหญ่ ก่อโรครุนแรงน้อย (Lentogenic strain) 2. ก่อโรครุนแรงปานกลาง ตายน้อย รอยโรคอาจเห็นไม่ชัดเจน (Mesogenic strain) 3. ก่อโรครุนแรงมาก ตายมาก พบรอยโรคชัดเจน (Velogenic strain)

วิธีการที่เชื้อไวรัสนิวคาสเซิลติดเข้าไปในเซลล์ไก่ HN F วิธีการที่เชื้อไวรัสนิวคาสเซิลติดเข้าไปในเซลล์ไก่ (http:www.nist.gov/mml/ceramics/functional_properties.cfm)

นิวคาสเซิล ในไก่พื้นเมือง ส่วนใหญ่มักจะป่วยและตายอย่างรวดเร็วภายใน 4-5 วันหลังมีการติดเชื้อในฝูง เชื้อระบาดค่อนข้างรวดเร็วและเป็นวงกว้าง ตายเกือบทั้งหมดฝูง หากไม่มีภูมิคุ้มกันต่อต้านโรคนี้มาก่อน

นิวคาสเซิล ในไก่เนื้อ เกิดแบบเฉียบพลันและแพร่กระจายตัวได้เร็วมาก อัตราการป่วยและตายขึ้นอยู่กับภูมิคุ้มกันที่สามารถป้องกันโรคในตัวไก่ (ในไก่เนื้อทั่วไปที่เคยได้รับวัคซีน เสียหายประมาณร้อยละ 10-40.

นิวคาสเซิล ในไก่ไข่ โดยทั่วไป อาการป่วยและตายจะพบได้น้อยกว่าไก่เนื้อ โดยเฉพาะในฝูงที่ได้รับวัคซีนมาพอสมควรและต่อเนื่องและมีภูมิคุ้มกันเฉลี่ยทั่วไปในระดับดี มีผลกระทบต่อผลผลิตไข่และคุณภาพของไข่และเปลือกไข่ เป็นบริเวณกว้าง

เชื้อโรคเข้ามาในฟาร์ม ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคในฟาร์ม ระดับภูมิคุ้มกันส่วนใหญ่มีระดับสูง เสียหายน้อย ภูมิคุ้มกันในฝูงไก่ไม่สม่ำเสมอกันทั้งฝูง ระดับภูมิคุ้มกันส่วนใหญ่มีระดับต่ำ เสียหายมาก เชื้อโรคเข้ามาในฟาร์ม

ให้ (ทำ) วัคซีนไก่ เพื่ออะไร?

ภูมิคุ้มกันไม่สม่ำเสมอในฝูงไก่และมีระดับต่ำไม่เพียงพอต่อการต้านทานโรค ? อะไรคือสาเหตุทำให้ ภูมิคุ้มกันไม่สม่ำเสมอในฝูงไก่และมีระดับต่ำไม่เพียงพอต่อการต้านทานโรค ? ? ? ?

แนวทางการแก้ไขและฟื้นฟูผลผลิตไข่ไก่ จากปัญหานิวคาสเซิล การปฏิบัติระหว่างการติดเชื้อและป่วย แนวทางการฟื้นฟูสุขภาพไก่ การติดตามระบบภูมิคุ้มกันของฝูงไก่สม่ำเสมอ ปรับปรุงระบบการป้องกันโรค

พึงระลึกเสมอว่า ระบบป้องกันโรค สำคัญมาเป็นอันดับหนึ่ง วัคซีนเป็นเครื่องมือในการลดความเสียหาย หากระบบการ ป้องกันโรคทำได้ไม่ดีพอ วัคซีนไม่ได้ป้องกันการติดเชื้อ แต่กระตุ้นให้เกิดการสร้าง ภูมิคุ้มกัน เพื่อยับยั้งการเพิ่มจำนวนและแพร่ของเชื้อใน ร่างกายไก่ หากเชื้อเพิ่มจำนวนได้จนทำให้อวัยวะเสียหายและ ไก่ฟื้นตัวไม่ได้ ไก่จะป่วยและตาย ปัจจัยหลักคือ ทำทุกวิถีทางไม่ให้เชื้อโรคเข้ามาในฟาร์มได้ และพยายามให้ไก่มีภูมิคุ้มกันเพียงพอที่จะต้านทานโรคได้

ขอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายบันดาล ให้ทุกคนมีความสุข ความเจริญทั่วหน้ากัน