สถิติผลการบรรจุงาน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 - 2556 สถิติผลการบรรจุงาน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 - 2556 ปี พ.ศ. 2554 จำนวน 10,797 คน ปี พ.ศ. 2555 จำนวน 9,911 คน ปี พ.ศ. 2556 จำนวน 13,082 คน
ผลการบรรจุงานสูงสุด 10 อันดับ ของผู้รับอนุญาตจัดหางานประเภท “นิติบุคคล” ในปี 2556 1. บริษัทจัดหางาน เพอร์ซันแนล คอนซัลแตนท์ฯ จำกัด จำนวน 1,448 คน 2. บริษัทจัดหางาน เจเอซี เพอซันแนล จำกัด “ 603 คน 3. บริษัทจัดหางาน พี.อาร์ แอนด์ บิสซิเนส แมเนจเม้นท์ จำกัด “ 600 คน 4. บริษัทจัดหางาน เพิ่มเพ็ญ จำกัด “ 483 คน 5. บริษัทจัดหางาน เคไอ เปอรูมาล คอร์เปอเรชั่น จำกัด “ 441 คน 6. บริษัทจัดหางาน ยู.เอ.เอ็นสตรอง จำกัด “ 438 คน 7. บริษัทจัดหางาน อเด็คโก้ พหลโยธิน จำกัด “ 399 คน 8. บริษัทจัดหางาน พีเอ แอนด์ ซีเอ จำกัด “ 357 คน 9. บริษัทจัดหางาน ซีดับบลิวเอ ทาเลนท์ จำกัด “ 310 คน 10. บริษัทจัดหางาน พีอาร์ทีอาร์ แอนด์ บิสซิเนส โปรเซสฯ จำกัด “ 298 คน
ผลการบรรจุงานสูงสุด 10 อันดับ ประเภท “บุคคลธรรมดา” ในปี 2556 ผลการบรรจุงานสูงสุด 10 อันดับ ประเภท “บุคคลธรรมดา” ในปี 2556 1. สำนักงานจัดหางาน ไทยมั่นคงธุรกิจ จำนวน 299 คน 2. สำนักงานจัดหางาน ตากสินบริการ “ 174 คน 3. สำนักงานจัดหางาน เพชรเกษม ธุรกิจ “ 159 คน 4. สำนักงานจัดหางาน สกุณา ธุรกิจ “ 134 คน 5. สำนักงานจัดหางาน ชื่นจิต บริการ “ 126 คน 6. สำนักงานจัดหางาน ทรัพย์สมบูรณ์ ธุรกิจ “ 121 คน 7. สำนักงานจัดหางาน ส.รุ่งเรือง เซอร์วิส “ 115 คน 8. สำนักงานจัดหางาน พี.เอ็น บริหารงาน พี.ซี. “ 90 คน 9. สำนักงานจัดหางาน กนกวรรณ ธุรกิจ “ 73 คน 10.สำนักงานจัดหางาน โชคดีบริการ “ 43 คน
ยุทธศาสตร์และนโยบายสำคัญ พิเศษ การจัดระบบผู้นำเข้าแรงงาน ต่างด้าว (Broker)
ที่มาและปัญหา มีภาคเอกชนที่ประกอบธุรกิจเป็นตัวแทนหรือนายหน้าจัดหานำแรงงานต่างด้าวเข้ามาทำงานกับนายจ้างในประเทศไทยเกิดขึ้น โดย... ยังไม่มีมาตรการในควบคุม กำกับ การดำเนินธุรกิจดังกล่าว มีการเรียกเก็บค่าบริการจากนายจ้าง/แรงงานต่างด้าว ในอัตราที่สูง เกิดปัญหาการหลอกลวงทั้งนายจ้าง/แรงงานต่างด้าวซึ่ง อาจนำไปสู่การค้ามนุษย์
ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 9) ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 9) กรณีการประกอบธุรกิจจัดหา/นำเข้าแรงงานต่างด้าวเข้ามาทำงานกับนายจ้างในประเทศไทย เป็นการ “จัดหางาน” ตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. 2528 ให้นำบทบัญญัติในหมวด 2 เกี่ยวกับการจัดหางานในประเทศมาบังคับใช้ได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้บัญญัติของพระราชบัญญัติการทำงาน ของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 ด้วย
กรมการจัดหางานกำหนดนโยบาย ผู้ที่ประสงค์จะประกอบธุรกิจจัดหา/นำเข้าแรงงานต่างด้าวเข้ามาทำงานกับนายจ้างในประเทศ ต้องจดทะเบียนเป็นผู้รับอนุญาตจัดหางานในประเทศ ตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติจัดหางานฯ
ควบคุม ดูแล สำนักงานจัดหางานที่ไม่ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด เก็บค่าบริการเกินกว่ากฎหมายกำหนด เก็บค่าบริการอื่นนอกจากกฎหมายกำหนด เช่น ค่าสมัครงาน ค่าเอกสาร ค่าประกัน ค่าเครื่องแต่งตัว ไม่รับผิดชอบต่อนายจ้าง/สถานประกอบการ และคนหางาน
ที่ให้ความร่วมมือและเสียสละเวลา เข้าร่วมการสัมมนาในครั้งนี้ ขอขอบคุณทุกท่าน ที่ให้ความร่วมมือและเสียสละเวลา เข้าร่วมการสัมมนาในครั้งนี้ สวัสดี