งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความรู้พื้นฐานตามภารกิจ 4 ด้าน หลักสูตรธรรมาภิบาลธุรกิจ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความรู้พื้นฐานตามภารกิจ 4 ด้าน หลักสูตรธรรมาภิบาลธุรกิจ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความรู้พื้นฐานตามภารกิจ 4 ด้าน หลักสูตรธรรมาภิบาลธุรกิจ
โครงการอบรมหลักสูตร ความรู้พื้นฐานตามภารกิจ 4 ด้าน หลักสูตรธรรมาภิบาลธุรกิจ ความเป็นมา 1. ไทยได้มีการควบคุมการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวมาตั้งแต่ปี พ.ศ เนื่องจากในขณะนั้นมีคนต่างด้าว ประกอบธุรกิจอยู่ในประเทศเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก จึงจำเป็นต้องมีกฎหมายควบคุมการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว เพื่อสงวนการประกอบธุรกิจไว้สำหรับคนไทย และเพื่อรักษาดุลอำนาจทางการค้าและเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้ง เพื่อให้การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติโดยส่วนรวม จึงได้ประกาศใช้ ปว 281 (พ.ศ. 2515) เนื่องจากประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 281 เป็นกฎหมายที่ใช้บังคับมานานไม่สอดคล้องกับแนวโน้มการค้าโลก ซึ่งมีการแข่งขันกันมากขึ้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ ดังนั้น เพื่อส่งเสริมให้มีการแข่งขันทางการค้าและสอดคล้องกับพันธกรณีตามสนธิสัญญาระหว่างประเทศ รวมทั้งเป็นการปกป้องการประกอบธุรกิจของคนไทยและกำกับดูแลการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว จึงได้มีการแก้ไขกฎหมายครั้งใหญ่ โดยประกาศใช้พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ แทนปว 281 (พ.ศ. 2515) ซึ่งมีผลบังคับใช้มาตั้งแต่วันที่ 3 มีนาคม 2543 จุดอ่อน ปว.281 ไม่บังคับให้ธุรกิจนอกบัญชีต้องมีทุนขั้นต่ำ บัญชีธุรกิจไม่มีเหตุผลในการห้าม ขบวนการ/ขั้นตอนการอนุญาตอยู่ในดุลพินิจของอธิบดีโดยลำพัง ไม่มีกำหนดเวลาในการพิจารณา ธุรกิจที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง คนต่างด้าวถือหุ้นได้ 100 % โดยสำนักบริหารการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

2 กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
หัวข้อ โครงสร้าง / หน้าที่รับผิดชอบ พรบ.ต่างด้าว ผลงาน พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว คือ กฎหมายที่ใช้กำกับดูแลคนต่างด้าวที่เข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศไทย องค์ประกอบหลัก องค์ประกอบหลักของกฎหมายฉบับนี้ ประกอบด้วย 1. คำจำกัดความ เช่น - คนต่างด้าว หมายถึง ใคร? / - ธุรกิจ หมายถึง อะไร ? 2. ลักษณะของการขออนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว 3. ประเภทธุรกิจที่ต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงจะสามารถประกอบธุรกิจได้ 4. หน้าที่และความรับผิดชอบตามกฎหมาย 5. บทกำหนดโทษ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

3 โครงสร้าง / หน้าที่รับผิดชอบ
แบ่งเป็น 2 ส่วน 1 กลุ่ม ส่วนทะเบียนและบริการแนะนำ ส่วนเลขานุการคณะกรรมการการประกอบธุรกิจของ คนต่างด้าว กลุ่มวิชาการ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

4 หน้าที่รับผิดชอบโดยรวม
อนุญาตและออกหนังสือรับรองการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว ศึกษาวิเคราะห์แนวโน้มการประกอบธุรกิจของ คนต่างด้าวและผลดีผลเสียจากการอนุญาต งานเลขานุการของคณะกรรมการการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

5 คนต่างด้าว บุคคลธรรมดา ไม่มีสัญชาติไทย
นิติบุคคลที่ไม่ได้จดทะเบียนในประเทศไทย นิติบุคคลที่จดทะเบียนในไทย และเข้าเกณฑ์เป็น “คนต่างด้าว” ตามกฎหมาย นิติบุคคลที่จดทะเบียนในประเทศไทย ซึ่งมีบุคคลตาม 1) 2) หรือ 3) ถือหุ้นหรือลงทุนตั้งแต่ 50 % ขึ้นไป ม. 4 คำนิยาม “คนต่างด้าว” คำนิยามของคนต่างด้าวตาม พ.ร.บ. ฉบับนี้ส่วนมากจะเหมือนกับคำนิยามตาม ปว.281 แตกต่างกันที่จำนวนผู้ถือหุ้นที่เป็นคนต่างด้าวจะไม่นำมาพิจารณาอีก รวมทั้งไม่มีข้อยกเว้นเกี่ยวกับการที่คนต่างด้าวจะไปถือหุ้นในธุรกิจอื่น ๆ อีก บริษัทจำกัดที่ออกใบหุ้นชนิดที่ออกให้แก่ผู้ถือ >>> ถือเป็นหุ้นที่ออกให้คนต่างด้าว

6 ธุรกิจตามบัญชีท้าย พ.ร.บ ต่างด้าว
บัญชี หนึ่ง บัญชี สอง บัญชี สาม กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

7 บัญชี หนึ่ง 9 ข้อ 16 รายการธุรกิจ
บัญชี หนึ่ง ข้อ 16 รายการธุรกิจ ไม่อนุญาตให้คนต่างด้าวประกอบกิจการ ด้วยเหตุผลพิเศษ ธุรกิจตามบัญชี 1 ห้ามคนต่างด้าวประกอบและไม่สามารถขออนุญาตได้ มี 9 ข้อ 16 รายการธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

8 บัญชี สอง 3 หมวด 21 รายการธุรกิจ
บัญชี สอง หมวด 21 รายการธุรกิจ ธุรกิจที่เกี่ยวกับ ความปลอดภัยหรือความมั่นคงของประเทศ มีผลกระทบต่อศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และหัตถกรรมพื้นบ้าน มีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม บัญชีสอง เป็นธุรกิจเกี่ยวกับความปลอดภัยหรือความมั่นคงของประเทศหรือมีผลกระทบต่อศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม เช่น การผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ การเลี้ยงไหม การทำเหมือง คนต่างด้าวจะประกอบธุรกิจได้ต้องรับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ โดยการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี มาตรา 8 ภายใต้บังคับมาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 10 และมาตรา 12 (2) ห้ามมิให้คนต่างด้าวประกอบธุรกิจที่เกี่ยวกับความปลอดภัยหรือความมั่นคงของประเทศ ธุรกิจที่มีผลกระทบต่อศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และหัตถกรรมพื้นบ้าน หรือธุรกิจที่มีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม ตามที่กำหนดไว้ในบัญชีสอง เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีโดยการอนุมัติของคณะรัฐมนตรี ได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรี โดยการอนุมัติของครม กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

9 บัญชี สาม 21 รายการธุรกิจ
บัญชี สาม รายการธุรกิจ ธุรกิจที่คนไทยยังไม่มีความพร้อมที่จะแข่งขัน ได้รับอนุญาตจากอธิบดี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการต่างด้าว บัญชีสาม เป็นธุรกิจที่คนไทยยังไม่มีความพร้อมที่จะแข่งขันในการประกอบธุรกิจกับคนต่างด้าว เช่น การทำกิจการโรงแรม คนต่างด้าวจะประกอบธุรกิจได้ต้องได้รับอนุญาตจากอธิบดี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว มาตรา 8 ภายใต้บังคับมาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 10 และมาตรา 12 (3) ห้ามมิให้คนต่างด้าวประกอบธุรกิจที่คนไทยยังไม่มีความพร้อมที่จะแข่งขันในการประกอบกิจการกับคนต่างด้าว ตามที่กำหนดไว้ในบัญชีสาม เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากอธิบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

10 การขอใบอนุญาต มาตรา 17 ธุรกิจภายใต้บัญชีท้าย พ.ร.บ.ฯ
อธิบดีอนุญาต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการฯ วางกรอบในการพิจารณาอนุญาตให้คนต่างด้าวเข้ามาประกอบ ธุรกิจที่สงวนไว้อย่างชัดเจน มาตรา 5 การอนุญาตให้คนต่างด้าวประกอบธุรกิจตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พิจารณาโดยคำนึงถึงผลดีและผลเสียต่อความปลอดภัยและความมั่นคงของประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ศิลปวัฒนธรรมและจารีตประเพณีของประเทศ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การพลังงานและการรักษาสิ่งแวดล้อม การคุ้มครองผู้บริโภค ขนาดของกิจการ การจ้างแรงงาน การถ่ายทอดเทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา (ข้อยกเว้น -> ไม่ใช้บังคับกับ “คนต่างด้าว”ตาม ม. 10)

11 อธิบดีออกหนังสือรับรอง
การขอหนังสือรับรอง มาตรา 11 - สนธิสัญญาไทย-อเมริกัน - FTA ไทย- ออสเตรเลีย - หุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น อธิบดีออกหนังสือรับรอง สนธิสัญญาไทย – อเมริกัน (ธุรกิจที่ห้าม) การคมนาคม การขนส่ง การทำหน้าที่รับดูแลทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของผู้อื่น การธนาคารที่เกี่ยวกับการทำหน้าที่รับฝากเงิน การแสวงหาประโยชน์จากที่ดินหรือทรัพยากรธรรมชาติอื่น การค้าภายในเกี่ยวกับผลิตผลทางเกษตรพื้นเมือง ผู้มีสิทธิแจ้งขอรับความคุ้มครอง ไทย- อเมริกัน บุคคลธรรมดาสัญชาติอเมริกัน นิติบุคคลอเมริกัน จัดตั้งตามกฎหมายไทยหรือสหรัฐอเมริกา จำนวนหุ้นข้างมากเป็นของบุคคลสัญชาติอเมริกัน กรรมการมากกว่าครึ่งหนึ่งต้องเป็นอเมริกันและ/หรือคนไทย กรรมการผู้มีอำนาจต้องไม่ใช่คนชาติที่ 3 กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

12 กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
ธุรกิจนอกบัญชี (1),(2),(3) ไม่ต้องขออนุญาต สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค เป็นบริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ให้บริการแก่วิสาหกิจในเครือ หรือสาขา ทั้งที่อยู่ในประเทศไทยหรือในต่างประเทศ ให้บริการเกี่ยวกับ ด้านการบริหาร ด้านเทคนิค บริการสนับสนุนในเรื่องต่างๆ เช่น - บริหารงานทั่วไป การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ - การให้คำปรึกษาด้านการเงิน การวิเคราะห์และวิจัย ด้านเศรษฐกิจและการลงทุน ฯลฯ มีธุรกิจอีกหลายประเภทที่ไม่ได้อยู่ภายใต้การควบคุมของกฎหมายฉบับนี้ ซึ่งได้แก่ธุรกิจที่ไม่ได้ถูกกำหนดไว้ในบัญชีหนึ่ง บัญชีสอง และบัญชีสาม เช่น ธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งธุรกิจส่งออก ซึ่งคนต่างด้าวสามารถประกอบธุรกิจได้โดยไม่ต้องขออนุญาต และแม้ว่าเป็นธุรกิจในบัญชีหนึ่ง บัญชีสองและบัญชีสามก็ตาม หากคนต่างด้าวถือหุ้นไม่ถึงร้อยละ 50 ของทุนทั้งหมด คนต่างด้าวก็สามารถเข้ามาประกอบธุรกิจได้โดยไม่ต้องอยู่ภายใต้กฎหมายฉบับนี้เช่นเดียวกัน กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

13 สรุป คนต่างด้าว ประกอบธุรกิจได้ ธุรกิจภายใต้พ.ร.บ ธุรกิจไม่อยู่
บัญชี 1 บัญชี 2 บัญชี 3 ห้ามประกอบธุรกิจ ต้องได้รับอนุญาต จากรมต โดยการอนุมัติของครม ต้องได้รับอนุญาตจากอธิบดีฯ โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการต่างด้าว ประกอบธุรกิจได้ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

14 กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
หัวข้อ โครงสร้าง / หน้าที่รับผิดชอบ พรบ.ต่างด้าว ผลงาน พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว คือ กฎหมายที่ใช้กำกับดูแลคนต่างด้าวที่เข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศไทย องค์ประกอบหลัก องค์ประกอบหลักของกฎหมายฉบับนี้ ประกอบด้วย 1. คำจำกัดความ เช่น - คนต่างด้าว หมายถึง ใคร? / - ธุรกิจ หมายถึง อะไร ? 2. ลักษณะของการขออนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว 3. ประเภทธุรกิจที่ต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงจะสามารถประกอบธุรกิจได้ 4. หน้าที่และความรับผิดชอบตามกฎหมาย 5. บทกำหนดโทษ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

15 แนวทางในการพิจารณาอนุญาต ตาม พรบ.ต่างด้าว
สำนักงานผู้แทน สำนักงานภูมิภาค การให้บริการหรือประกอบธุรกิจอื่น กับ ภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจ การให้บริการ กับ บริษัทในเครือหรือในกลุ่ม การให้บริการติดตั้ง ซ่อมแซม และบำรุงรักษา การบริการให้เช่า การบริการให้เช่าแบบลีสซิ่ง การบริการให้เช่าซื้อ การบริการแฟ็กเตอริง การบริการรับจ้างผลิต การให้บริการหรือประกอบธุรกิจอื่นโดยเป็นคู่สัญญากับภาคเอกชน การค้าส่ง พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว คือ กฎหมายที่ใช้กำกับดูแลคนต่างด้าวที่เข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศไทย องค์ประกอบหลัก องค์ประกอบหลักของกฎหมายฉบับนี้ ประกอบด้วย 1. คำจำกัดความ เช่น - คนต่างด้าว หมายถึง ใคร? / - ธุรกิจ หมายถึง อะไร ? 2. ลักษณะของการขออนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว 3. ประเภทธุรกิจที่ต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงจะสามารถประกอบธุรกิจได้ 4. หน้าที่และความรับผิดชอบตามกฎหมาย 5. บทกำหนดโทษ

16 การอนุญาตและการออกหนังสือรับรอง
ธุรกิจบัญชีท้าย อนุญาต หนังสือรับรอง รวม เลิก/ถอน คงอยู่ ส่งเสริม การลงทุน สนธิสัญญา บัญชีสอง ม.ค.- ต.ค. 53 - 3 ม.ค. - ธ.ค. 52 4 มี.ค ต.ค. 53 30 7 37 1 36 บัญชีสาม ม.ค. – ต.ค. 53 216 190 79 485 80(2) 405 213 169 91 473 156(2) 317 มี.ค. 43 – ต.ค. 53 2,585 1,206 1,004 4,795 864 3,931 (บัญชีสอง+สาม) 1,236 1,011 4,832 865 3,967 741 42 82 1,844 1,194 929 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว คือ กฎหมายที่ใช้กำกับดูแลคนต่างด้าวที่เข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศไทย องค์ประกอบหลัก องค์ประกอบหลักของกฎหมายฉบับนี้ ประกอบด้วย 1. คำจำกัดความ เช่น - คนต่างด้าว หมายถึง ใคร? / - ธุรกิจ หมายถึง อะไร ? 2. ลักษณะของการขออนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว 3. ประเภทธุรกิจที่ต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงจะสามารถประกอบธุรกิจได้ 4. หน้าที่และความรับผิดชอบตามกฎหมาย 5. บทกำหนดโทษ

17 กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
การอนุญาต แยกตามประเทศที่เข้ามาลงทุน วันที่ 3 มีนาคม ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2553 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว คือ กฎหมายที่ใช้กำกับดูแลคนต่างด้าวที่เข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศไทย องค์ประกอบหลัก องค์ประกอบหลักของกฎหมายฉบับนี้ ประกอบด้วย 1. คำจำกัดความ เช่น - คนต่างด้าว หมายถึง ใคร? / - ธุรกิจ หมายถึง อะไร ? 2. ลักษณะของการขออนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว 3. ประเภทธุรกิจที่ต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงจะสามารถประกอบธุรกิจได้ 4. หน้าที่และความรับผิดชอบตามกฎหมาย 5. บทกำหนดโทษ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

18 การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว
For More Information บริการกรม การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว กรมพัฒนาธุรกิจการค้า


ดาวน์โหลด ppt ความรู้พื้นฐานตามภารกิจ 4 ด้าน หลักสูตรธรรมาภิบาลธุรกิจ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google