กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนชุมชนศิลาเพชร สพท.น่าน เขต ๒

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
Advertisements

จดหมายกิจธุระ.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ศาสนพิธี.
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
แบบฝึกทักษะเรื่องเหตุผลกับภาษา
CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI
สื่อเสริมความรู้เรื่อง คำพ้องเสียง นางกิติยาพร คงทอง ครู คศ.1
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
คำพ้อง คำที่เขียนรูปหรือออกเสียงตรงกัน แต่ความหมายต่างกัน  คำพ้อง แบ่งเป็น ๓ ชนิด.
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
จัดทำโดย นางสมบัติ แตรไชย
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
สรุปภาพรวมหน่วยการเรียนรู้
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
โครงงาน: ฉันหลงทาง 我迷路了
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง 中国货币 (สกุลเงินจีน) ช่วงชั้นที่ที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูนาฎหทัย สิทธิบุญ โรงเรียนแกลง“วิทยสถาวร”จังหวัดระยอง.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
คำพ้อง จุดมุ่งหมาย อธิบายความหมายของคำพ้องรูป พ้องเสียงได้
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
วิชาภาษาไทย เรื่อง คำพ้อง นำเสนอโดย กลุ่ม ๑.
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
หลักการเขียนโน้มน้าวใจ ลักษณะของสารโน้มน้าวใจ
1. ถ้าข้อความที่กำหนดมีข้อความอื่น ( ซึ่งอาจมีได้มากกว่า 1 ข้อความ ) เป็น ส่วนประกอบสำคัญ หรือ เป็นจุดเด่นที่น่าสนใจ ให้ระบายคำตอบเป็น.
การส่งเสริมการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ชาติ สังคมศึกษา
บทเรียนสำเร็จรูป สำนวน คำพังเพย สุภาษิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑.
สื่อเสริมความรู้เรื่อง คำพ้องเสียง
โรงเรียนบ้านกมลราษฎร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)
เรื่อง การเขียนรายงาน
โรงเรียนบ้านละหาร เสนอ
เกมฝึกทักษะการคิดทางภาษาไทย ชุดที่ ๓ เชื่อมโยงชีวิต
เรื่อง คำที่ใช้ รร ( ร หัน)
My school.
เศรษฐกิจพอเพียง.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
นโยบายการขับเคลื่อน ระบบการวัดและประเมินสมรรถนะผู้เรียน
My school.
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
การอ่านเชิงวิเคราะห์
สื่อ CAI เรื่อง คำนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
สวัสดีครับ วันนี้ผมจะมานำเสนอ เกมส์บุพบท
การเขียนรายงาน.
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
แนวทางนำเสนอ การ พัฒนาหลักสูตร บูรณการอาเซียน นำเสนอโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ ( ๓๑ มี. ค. ๕๗ )
การฟังเพลง.
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรียนรู้
เรื่อง ประโยค.
๕. ๑ ใส่เสื้อขาว ทุกคน. ๕. ๒ ทำบุญใส่บาตร ฟัง เทศน์
สื่อเสริมความรู้เรื่อง คำ ร หัน (รร)
โรงเรียนบ้านวังไทร อำเภอปากช่อง สพท.นม. เขต 4
เรื่อง ท่องแดนมังกร ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 นายอานัฐ ปรีสมบัติ ครูโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสัย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาฬสินธุ์ เขต 1.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนชุมชนศิลาเพชร สพท.น่าน เขต ๒ เรื่อง คำพ้อง นำเสนอโดย นางเทียมจิต หาญยุทธ โรงเรียนชุมชนศิลาเพชร สพท.น่าน เขต ๒

จุดประสงค์การเรียนรู้ เรื่อง คำพ้อง จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนรู้และเข้าใจเรื่องคำพ้องทั้งคำพ้องรูปและคำพ้องเสียง ๒. นักเรียนสามารถยกตัวอย่างคำพ้องรูปและพ้องเสียงได้ ๓. นักเรียนสามารถบอกหรือแยกแยะความแตกต่างระหว่าง คำพ้องรูปและคำพ้องเสียงได้ ๔. นักเรียนสามารถนำคำพ้องรูปพ้องเสียงไปแต่งเรื่องราวหรือ นิทานเชิงสร้างสรรค์ได้

เรื่อง คำพ้อง มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ การอ่าน เรื่อง คำพ้อง มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และ ความคิดไปใช้ติดสินใจ แก้ปัญหาและสร้างวิสัยทัศน์ในการ ดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษา มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลัก ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษาและรักภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ

เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบก่อนเรียน ๑. “คุณยายถูกกระเบื้อง....... เท้า จึงไม่ได้ออกไปใส่........พระที่กำลังเดินบิณฑ..........” ควรเติมคำในข้อใด ก. บาด บาตร บาตร ข. บาด บาต บาตร ค. บาด บาตร บาตร ง. บาตร บาตร บาต

เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบก่อนเรียน ๒. “พ่อต้อนโคลงเรือจนเรือโคลงเอียงไปมา” คำพ้องรูปในข้อใดอ่านได้ถูกต้อง ก. โคลง โคลง ข. โค-ลง โค-ลง ค. โค-ลง โคลง ง. โคลง โค-ลง

เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบก่อนเรียน ๓. “ทศ........เป็นยักษ์มีสิบหน้า ยี่สิบมือ” ควรเติมคำในข้อใด ก. กัลป์ ข. กัณฐ์ ค. กันต์ ง. กัณฑ์

เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบก่อนเรียน ๔. “ฉันขออนุ........ คุณพ่อไปเยี่ยม........ที่เชียงใหม่” ควรเติมคำในข้อใด ก. ญาติ ญาติ ข. ญาต ญาต ค. ญาติ ญาต ง. ญาต ญาติ

เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบก่อนเรียน ๕. “เมื่อเดือนกุมภา......... พ่อไปซื้อ............ ไม้ที่จังหวัดสุ.............บุรีมาหลาย...........ต้น” ข้อใดมีคำที่เติมลงในช่องว่างเรียงกันได้ถูกต้อง ก. พันธุ์ พันธ์ พรรณ พัน ข. พัน พันธ์ พรรณ พันธุ์ ค. พันธ์ พันธุ์ พรรณ พัน ง. พัน พันธุ์ พรรณ พันธ์

คำพ้อง คือ คำที่มีรูปเหมือนกันหรืออ่านออกเสียงเหมือน เรื่อง คำพ้อง คำพ้อง คือ คำที่มีรูปเหมือนกันหรืออ่านออกเสียงเหมือน กันอย่างใดอย่างหนึ่ง คำพ้องแบ่งเป็น ๒ ชนิดคือ ๑. คำพ้องรูป ๒. คำพ้องเสียง

๑. คำพ้องรูป คือ คำที่เขียนเหมือนกัน แต่อ่านออกเสียงไม่ เรื่อง คำพ้อง ๑. คำพ้องรูป คือ คำที่เขียนเหมือนกัน แต่อ่านออกเสียงไม่ เหมือนกัน และมีความหมายที่แตกต่างกัน เวลาอ่านจะต้อง สังเกตความหมายของคำในประโยคจึงจะอ่านได้ถูกต้อง

เรื่อง คำพ้อง ตัวอย่างคำพ้องรูป เรื่อง คำพ้อง ตัวอย่างคำพ้องรูป ปรัก อ่านว่า ปฺรัก (อ่านควบ) หมายถึง เงิน ปะ-หรัก หมายถึง หัก เพลา อ่านว่า เพ-ลา หมายถึง เวลา เพลา (อ่านควบ) หมายถึง เบาลง, ตัก, ขา สระ อ่านว่า สะ หมายถึง แอ่งน้ำขนาดใหญ่ สระ หมายถึง อักษระที่ใช้แทนเสียง

เรื่อง คำพ้อง ๒. คำพ้องเสียง คือ คำที่เขียนเหมือนกัน แต่รูปต่างกัน (เขียนไม่เหมือนกัน) และความหมายก็ต่างกันด้วย

เรื่อง คำพ้อง ตัวอย่างคำพ้องเสียง เรื่อง คำพ้อง ตัวอย่างคำพ้องเสียง กรรแสง หมายถึง ส่งเสียง ผ้าสไบ (คำโบราณ) กันแสง หมายถึง ร้องไห้ กรรณ หมายถึง หู ใบหู กัณฑ์ หมายถึง เรื่อง หมวด ตอน กัณฐ์ หมายถึง คอ กัน หมายถึง บัง เก็บไว้ กันต์ หมายถึง ตัด โกน กันย์ หมายถึง หญิงรุ่น นางสาวน้อย

เรื่อง คำพ้อง ตัวอย่างคำพ้องเสียง เท้า หมายถึง ตีน เรื่อง คำพ้อง ตัวอย่างคำพ้องเสียง เท้า หมายถึง ตีน ท้าว หมายถึง ผู้เป็นใหญ่ พระเจ้าแผ่นดิน พัก หมายถึง หยุดชั่วคราว อาศัยชั่วคราว พักตร์ หมายถึง หน้า พรรค หมายถึง หมู่คนที่เข้ารวมกันเป็นพวก เป็นฝ่าย

เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบหลังเรียน ๑. “คุณยายถูกกระเบื้อง....... เท้า จึงไม่ได้ออกไปใส่........พระที่กำลังเดินบิณฑ..........” ควรเติมคำในข้อใด ก. บาด บาตร บาตร ข. บาด บาต บาตร ค. บาด บาตร บาตร ง. บาตร บาตร บาต

เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบหลังเรียน ๒. “พ่อต้อนโคลงเรือจนเรือโคลงเอียงไปมา” คำพ้องรูปในข้อใดอ่านได้ถูกต้อง ก. โคลง โคลง ข. โค-ลง โค-ลง ค. โค-ลง โคลง ง. โคลง โค-ลง

เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบหลังเรียน ๓. “ทศ........เป็นยักษ์มีสิบหน้า ยี่สิบมือ” ควรเติมคำในข้อใด ก. กัลป์ ข. กัณฐ์ ค. กันต์ ง. กัณฑ์

เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบเรียน เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบเรียน ๔. “ฉันขออนุ........ คุณพ่อไปเยี่ยม........ที่เชียงใหม่” ควรเติมคำในข้อใด ก. ญาติ ญาติ ข. ญาต ญาต ค. ญาติ ญาต ง. ญาต ญาติ

เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง คำพ้อง แบบทดสอบหลังเรียน ๕. “เมื่อเดือนกุมภา......... พ่อไปซื้อ............ ไม้ที่จังหวัดสุ.............บุรีมาหลาย...........ต้น” ข้อใดมีคำที่เติมลงในช่องว่างเรียงกันได้ถูกต้อง ก. พันธุ์ พันธ์ พรรณ พัน ข. พัน พันธ์ พรรณ พันธุ์ ค. พันธ์ พันธุ์ พรรณ พัน ง. พัน พันธุ์ พรรณ พันธ์