โดย จักรวัฒน์ เครือคำอ้าย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการออกกำลังกายและการเต้นแอโรบิก
Advertisements

เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
การลดความวิตกกังวล.
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
หน้าที่ของผู้บริหาร.
เครือข่ายโรงเรียนเอกชน จังหวัดลำปาง วันจันทร์ที่ 2 ธันวาคม 2556
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
งานนำเสนอ Akanet Maneenut
อิทธิบาท 4 เพื่อพัฒนาอารมณ์และจิตใจของวัยรุ่น
รูปแบบการสอนโมเดลซิปปา (CIPPA Model)
บทที่ 1 การวิจัยกับการ พัฒนางานของครู
กิจการนิสิต (Student Affairs)
การบริบาลผู้สูงอายุ (CARE FOR ELDERLY).
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
กิจกรรมนันทนาการ.
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ “เกม” (Game)
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพและสมรรถภาพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
คัชชาตา เจริญวงค์ นักจิตวิทยาคลินิก ศูนย์สุขภาพจิตที่ 4 กรมสุขภาพจิต
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
ความดีเด่นของสถานศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ทักษะการใช้กิริยาท่าทาง และบุคลิกการเป็นครู
Personality Development
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
เทรนด์ “สุขภาพโลก” ในปี 2555
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
ประเภท ระดับ และพฤติกรรมการเรียนรู้
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน ออกแบบบ้านในฝันน่าอยู่
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
แนวทางในการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
John Dewey Learning by Doing โดย...นางดารุณี ประพันธ์
สายัณห์ สันทัด L.T. ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาลูกเสือและบุคลากรทางการลูกเสือ
ความเป็นครู.
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
วิชา สุขศึกษา เสนอ 1.นายวิชญะ สุขโหตุ 047.
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
การประกวดแข่งขันผลงานวิจัย และนวัตกรรมสื่อสารสอนทางอาชีวศึกษา
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
อุดมการณ์ และจิตวิญญาณ ของความเป็นครู.
การบริหารการหายใจ เพื่อการคลายเครียด
รายงานผลการวิจัย.
กลุ่มสาระการเรียนรู้
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย จักรวัฒน์ เครือคำอ้าย ปรัชญาพลศึกษา โดย จักรวัฒน์ เครือคำอ้าย

พลศึกษา Physical Education หมายถึง เป็นการศึกษาแขนงหนึ่งในขบวนการศึกษาทั้งหมด ซึ่งมีจุดมุ่งหมายที่จะเกิดการพัฒนาการทางกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม เพื่อการเป็นพลเมืองดี การใช้กิจกรรมต่างๆ ที่เลือกเฟ้นแล้ว เพื่อไปสื่อให้บรรลุผลที่วางไว้ข้างต้น (Bucher,1969:31)

พลศึกษา Physical Education กระบวนการทางการศึกษาเกี่ยวกับกิจกรรมต่างๆ ซึ่งช่วยเพิ่มพูนและพัฒนาร่างกายของมนุษย์ให้ดีขึ้น หรือกล่าวได้ว่า พลศึกษา คือ วิชาที่มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและทักษะ โดยใช้กิจกรรมการออกกำลังกายหรือกีฬาต่างๆเป็นสื่อของการเรียน (วาสนา คุณาอภิสิทธิ์ 2539 : 23)

จุดมุ่งหมาย “จงบำรุงรักษาร่างกายให้มีความแข็งแรง อดทน และปราดเปรียวเพื่อที่จะให้ร่างกายสามารถเชื่อและปฏิบัติตามคำสั่งของจิตใจได้ จิตใจที่ผ่องใสอยู่ในเรือนร่างที่สมบูรณ์”( John Locke 1632-1704)

Jean Jacques Rousseau (1712-1778) จัง จาค รุสโซ “มีความจำเป็นที่ร่างกายจะต้องมีความแข็งแรง เพื่อที่จะสามารถปฏิบัติตามคำสั่งของวิญญาณได้ ผู้รับใช้ที่ดีจะต้องเป็นผู้ที่มีร่างกายแข็งแรงยิ่งถ้าร่างกายมีความอ่อนแอเท่าใด ร่างกายก็จะเป็นนายเรามากเพียงนั้น และกลับตรงกันข้าม ถ้าร่างกายของเรายิ่งมีความแข็งแรงมากเพียงใด มันก็ยิ่งจะปฏิบัติตามเราและรับใช้เราได้ดีมากเพียงนั้นด้วย

Christian Woff “หน้าที่ต่อร่างกาย” โดยบรรยายไว้ว่า การที่มนุษย์ดำเนินชีวิตให้เป็นสุขได้นั้น จะเป็นไปได้ก็ต่อเมื่อร่างกายมีสติปัญญาที่มีประสิทธิภาพที่แข็งแรงเท่านั้น แต่สติปัญญาที่แข็งแรงก็ต้องอยู่ในร่างกายที่มีสุขภาพสมบูรณ์และแข็งแรง โดยความสุขภาพสมบูรณ์ของร่างกายจะได้มาจากแบบฝึกหัดของพลศึกษาเท่านั้น

ปรัชญาการพลศึกษา คือ ค่านิยม หลักการ วิธีการและทฤษฎีต่างๆ ทางการพลศึกษาที่ได้ผ่านการวิเคราะห์ การทดลอง การพิสูจน์และการกลั่นกรอง พิจารณาด้วยเหตุด้วยผลอย่างละเอียดลออ ถี่ถ้วนเป็นอย่างดีและถูกต้อง ได้เป็นที่ยอมรับของวิชาชีพพลศึกษาแล้วว่า สามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการจัดและดำเนินการตลอดการจัดการเรียนการสอนวิชาพลศึกษาในโรงเรียนได้ผลดีและมีประสิทธิภาพ (วรศักดิ์ เพียรชอบ 7:2548)

บทบาทและความสำคัญ ช่วยให้มีร่างกายที่แข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายที่ดี และมีสุขภาพดี ผลของการออกกำลังกายที่มีต่อโลหิต ผลของการออกกำลังกายที่มีต่อกล้ามเนื้อ ผลของการออกกำลังกายที่มีต่อหัวใจ ผลของการออกกำลังกายที่มีต่อปริมาณของโลหิตที่หัวใจบีบตัว ผลของการออกกำลังกายที่มีต่ออัตราการเต้นของชีพจร

9. แพทยสภาแห่งประเทศไทยได้สรุปความสำคัญของการออกกำลังกายไว้ดังนี้ ช่วยให้อวัยวะต่างๆแข็งแรงขึ้น เช่น หัวใจ ปอด ไต กระดูก ช่วยลดการเป็นโรคความดันโลหิตสูง โรคแผลในกระเพราะอาหาร และไขมันในเส้นเลือดสูง ผู้ที่ทำงานเบาไม่ค่อยออกกำลังกาย อาจเป็นโรคเหนื่อยง่ายและเวียนศีรษะ บุรุษไปรษณีย์เป็นโรคหัวใจน้อยกว่าพนักงานรับโทรศัพท์ กระเป๋ารถเมล์

7. ผลของการออกกำลังกายที่มีต่อความดันของโลหิต 6. ผลของการออกกำลังกายที่มีต่อเส้นโลหิต 7. ผลของการออกกำลังกายที่มีต่อความดันของโลหิต 8. ผลของการออกกำลังกายที่มีต่อระบบการหายใจ

ผู้ที่มีอาชีพงานเบา และจำเจ อาจเจ็บป่วยบ่อย ควรหาเวลาออกกำลังกายทุกวัน เช่น พระภิกษุ นักเรียน แม่บ้าน ช่างเย็บผ้า นักธุรกิจฯ คนถีบจักรยานเป็นโรคหัวใจน้อยกว่าคนขับรถหรือคนนั่งรถ การออกกำลังกายเป็นประจำทำให้คนเป็นโรคติดเชื้อน้อยลง เช่น เป็นหวัดคัดจมูก เจ็บคอ การออกกำลังกายเป็นประจำทำให้มีอายุยืนนาน ออกกำลังกายวันละนิดจิตแจ่มใส ถ้าไม่อยากให้หัวใจวายออกกำลังกายทุกวัน

2.ช่วยให้มีทักษะการเคลื่อนไหวของร่างกาย และการเล่นกีฬาดีขึ้น จากการศึกษาพบว่า ทักษะการเคลื่อนไหวจะขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ กำลังความแข็งแรง ความรวดเร็ว การเปลี่ยนทิศทาง ความอ่อนตัว ความสามารถของสายตา ความเข้าใจในเทคนิคและวิธีการของทักษะนั้นๆ

3. ช่วยให้มีคุณธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของสังคมดีขึ้น มีระเบียบวินัย มีความกล้าในการแสดงออก มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความอดทน มีความยับยั้งชั่งใจ มีศีลธรรมจรรยา

4. ช่วยให้มีความรู้ความเข้าใจโดยการปฏิบัติจริง หลักการทางด้านจิตวิทยาการกีฬาที่จะทำให้การเรียนรู้ได้ผลดีที่สำคัญก็คือ การเรียนรู้นั้น คือ การเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติจริง (Learning by doing)