การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดกิจกรรมโครงการฯ
Advertisements

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการข่าวสาร ในสถานการณ์วิกฤติ ฉุกเฉิน และเร่งด่วน โดยกลุ่ม...โบ X 2.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ คุณภาพชมรมนักศึกษา / ชมรมบัณฑิต มสธ.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
กระบวนการกลุ่ม เครือข่ายการตลาด
การกำหนด การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักงานอัยการสูงสุด
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดทำโดย นางสาวจงกลณี ช้างวิเศษ รหัสนักศึกษา 542132029

วิสัยทัศน์ พันธกิจ วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Missions) มุ่งสู่การพัฒนาบุคลากร สร้างงานวิจัยและเครือข่ายด้านนิติวิทยาศาสตร์ พันธกิจ (Missions) สร้างเครือข่ายการทำงานร่วมกันทางด้านนิติวิทยาศาสตร์ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ เป็นศูนย์การวิจัยและพัฒนาบุคลากรด้านนิติวิทยาศาสตร์ เพื่อเป็นหน่วยงานกลางในการหามาตรฐาน ในการตรวจพิสูจน์ต่าง ๆ ทางด้านนิติวิทยาศาสตร์ กลยุทธ์ (Strategies) สร้างงานวิจัย สร้างเครือข่าย บริการวิชาแก่ชุมชน ผลิตบัณฑิต บริการวิชาแก่ชุมชน

กลยุทธ์การจัดการความรู้ ที่เหมาะสมตามวัฒนธรรมศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ โดยพิจารณาจาก ต้องสร้างคุณค่าให้เป็นไปตามความต้องการของผู้รับบริการด้านนิติวิทยาศาสตร์ ต้องสร้างความภาคภูมิใจให้กับศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ เช่น การสร้างสรรค์ งานวิจัย พัฒนา บุคลากร ให้บริการวิชาการแก่ชุมชน ร่วมถึงการสร้างเครือข่ายด้านนิติวิทยาศาสตร์ บุคคลากรของศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ ต้องให้บริการวิชาการที่เกิดประโยชน์สูงสุด กลยุทธ์หลักPersonalized Model (People Based) ใช้แบ่งปันความรู้เป็นหลักระหว่างบุคคลในการดำเนินงานวิจัย พัฒนาบุคคล การให้บริการวิชาการแก่ชุมชน และการสร้างข่าย กลยุทธ์รองแบบ Codified Model (Technology Based) เพราะใช้ระบบสารสนเทศสนับสนุนการดำเนินงาน

การจัดการการเปลี่ยนแปลง กระบวนการจัดการความรู้ ในองค์กร การบริหาร - ผู้บริหาร, กลยุทธ์การจัดการความรู้, ทีมการจัดการความรู้ และหน้าที่ของทีม การจัดการการเปลี่ยนแปลง กระบวนการจัดการความรู้ - จัดหา, จัดเก็บ, แชร์, ใช้

โครงการฯที่เป็นเจ้าภาพ โครงการที่ให้การสนับสนุนทั้งสิ้น การบริหาร : ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์บริหารการปฏิบัติงานในลักษณะที่มุ่งเน้นคน (people : P) เป็นเกณฑ์ทางอ้อมที่ใช้วัดการปฏิบัติงาน ทำให้เกิดการสื่อสารที่ดี สมาชิกพัฒนาตัวเอง เกิดทีมงานที่มีคุณภาพ ผู้บริหาร กำหนดนโยบาย KM ให้ชัดเจน แต่งตั้ง CKO กำหนดกลยุทธ์ตาม Vision, mission จัดสรรงบประมาณสนับสนุนการทำ KM เข้าร่วมกิจกรรม (เป็นประธานหรือกล่าวชมเชย) ผู้ร่วมทีม วางแผน (แบ่งความรับผิดชอบให้ชัดเจน) สร้าง (บริหารการเปลี่ยนแปลง) ให้คำปรึกษา (ช่วยติดต่อประสานงาน) สำนักงานศูนย์ โครงการฯที่เป็นเจ้าภาพ โครงการที่ให้การสนับสนุนทั้งสิ้น เริ่มจากเล็ก>ใหญ่ จะได้ไม่กระทบทั้งศูนย์

การจัดการการเปลี่ยนแปลง Team KM ต้องมีความเชื่อใจ มีการแบ่งปันความรู้ สำหรับใช้ในเปลี่ยนแปลง และมีเป้าหมายที่ชัดเจนร่วมกัน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น สมาชิกในศูนย์นิติฯ อาจมีพฤติกรรมตอบสนองการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นคือ การเปลี่ยนแปลงใช้ความรู้ที่เหมาะสมสำหรับการเปลี่ยนแปลง เพื่อปลูกฝัง วัฒนธรรม การเรียนรู้และแบ่งปันความรู้ให้เกิดขึ้นในศูนย์นิติฯ ทำตาม ต่อต้าน(สร้างสรรค์) ใช้ประโยชน์

กระบวนการจัดการเปลี่ยนแปลง 1. การเตรียมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จากตารางจะตอบคำถามได้ว่าเป้าหมายที่ต้องการคืองบประมาณสนับสนุนที่เพิ่มขึ้น จึงต้องสร้างผลงานที่มากกว่าแผนที่ตั้งไว้ 2. การสื่อสาร โดยการประชุมเพื่อแจ้งข้อมูลที่ถูกต้องให้ทุกคนเข้าใจเป้าหมาย ประโยชน์ ที่จะเกิด กับทุกคน และแต่ละคนจะมีส่วนร่วมได้อย่างไร โดยเร็วที่สุด S: จุดแข็ง - อาจารย์ที่มีความรู้ทักษะหลากหลาย -บริการงานวิจัยมีความเฉพาะทางด้านนิติวิทยาศาสตร์ W: จุดอ่อน - เงินสนับสนุนศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ลดลง - การประชาสัมพันธ์ไม่ทั่วถึง O: โอกาส -ได้รับเงินแผ่นดินจากรัฐบาล T: อุปสรรค -การเปลี่ยนแปลงรัฐบาลจากการเลือกตั้ง

3. กระบวนการและเครื่องมือ เครื่องมือที่เหมาะสมกับวัฒนธรรมศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ ใช้แบบ Personalized Model ดังนี้ Story Telling After Action Review (เล่าเรื่อง) (ทบทวนทันที) 4. หลักการเรียนรู้เพื่อสร้างความสำคัญของ KM เนื้อหา กลุ่มเป้าหมาย เครื่องมือ วัดผลการเรียนรู้ แก้ปัญหางบประมาณลดลง สมาชิกศูนย์นิติฯ -Story Telling -After Action Review ได้ผลงานวิจัย, โครงการฯ ใช้เวลาในการทำน้อยลง

5. การวัดผล 6. ระบบการให้รางวัล เพื่อให้ทราบผลงานตามเป้าหมายหรือไม่ เปรียบเทียบ โดย KPI ที่ตั้งไว้ ถ้ามากกว่า KPI ที่ตั้งไว้ งบประมาณที่ศูนย์ได้รับสนับสนุนก็จะเพิ่มขึ้น 6. ระบบการให้รางวัล ประธานกล่าวชมเชยในที่ประชุม

กระบวนการจัดการความรู้ จัดหา จัดเก็บ ใช้ แชร์ ความรู้ใหม่

ตัดสินใจกำหนดโครงสร้าง ทบทวนโครงการว่าดีหรือยัง การประเมิน การประเมิน เพื่อ สภาวะแวดล้อม การตัดสินใจวางแผน ปัจจัยเบื้องต้น ตัดสินใจกำหนดโครงสร้าง กระบวนการ การนำไปปฏิบัติ ผลงาน ทบทวนโครงการว่าดีหรือยัง เกณฑ์การวัดความสำเร็จ เกณฑ์ประสิทธิภาพ คือ ได้ผลงานตาม KPI ที่ตั้งไว้ เกณฑ์ประสิทธิผล เช่น ตำรวจตรวจพิสูจน์หลักฐาน กลับมาใช้บริการซ้ำ เกณฑ์ความพีงพอใจ เช่น โครงการฯ สรุปผลแบบประเมินความพึงพอใจมาก

ตัวชี้วัด ใช้ ตัวชี้วัดความสำเร็จ : KPI