การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การประกันคุณภาพภายนอก
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินสภามหาวิทยาลัย
การประกันคุณภาพการศึกษา
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
เรื่อง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
พันธกิจและแนวทางพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายนอก โดยใช้รูปแบบกัลยาณมิตร
การประกันคุณภาพการศึกษา
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
การประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบที่3
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
แนวทางการดำเนินงาน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในโรงเรียนเอกชน
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ของการประกันคุณภาพการศึกษา
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
PMQA พัชรศรี ศรีเมือง กลุ่มพัฒนาระบบบริหารกระทรวงยุติธรรม 14 ก.ย. 53
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
ระบบการประกันคุณภาพภายใน หมายถึง
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การประกันคุณภาพ QUALITY ASSURANCE
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
นโยบายและแนวทางการบริหารราชการสถาบันการพลศึกษา
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
บทบาทนายหมายเลข ๑ ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหาร ผู้นำ ผู้ประสานงาน.
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘)
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โดย อารมณ์ ผิวดำ สพม.38 (สุโขทัย-ตาก)
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
เจตนารมณ์ตาม พรบ. การศึกษา 2542
แนวปฏิบัติที่ดีของ การประกันคุณภาพ การศึกษา. ที่องค์ประกอบ ผลการประเมิน ปี 52 ปี 53 ปี 54 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดำเนินการ
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดรุณี ณ ลำปาง วันที่ 16 มีนาคม 2553 เวลา 09.00 – 09.40 น. ณ ห้อง 117 วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี

แผนภาพความเชื่อมโยงระหว่าง มาตรฐานการศึกษา และการประกันคุณภาพ

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. 2551 ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. 2551. คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : ภาพ พิมพ์ (หน้า 2.)

ทำไมจึงต้องมีการประกันคุณภาพการศึกษา? เพื่อให้การจัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภทมีคุณภาพและมาตรฐานตามที่กำหนดและระบุในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545

รายละเอียดการดำเนินการ (ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ) กระทรวงศึกษาธิการมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและกำกับดูแลการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท กำหนดนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษา คณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหน้าที่พิจารณาเสนอมาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ คณะกรรมการการอุดมศึกษาได้จัดทำมาตรฐานการอุดมศึกษาเพื่อใช้เป็นกลไกระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษาและระดับหน่วยงานเพื่อนำไปสู่การกำหนดนโยบายของสถาบันอุดมศึกษาในการพัฒนาการอุดมศึกษา

เกณฑ์มาตรฐานอื่นๆที่ส่งเสริมความเป็นอิสระและความเป็นเลิศของสถาบันอุดมศึกษา มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา หลักเกณฑ์การขอเปิดและดำเนินการหลักสูตรระดับปริญญาในรบบการศึกษาทางไกล

องค์ประกอบของมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง มีการจัดทำรายงานการประเมินคุณภาพภายในเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชนเพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ และ มาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก

การประกันคุณภาพภายนอก เป็นการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดย “สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ.”ซึ่งสถานศึกษาทุกแห่งต้องได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกอย่างน้อย1 ครั้ง ในทุกรอบ 5 ปี

องค์ประกอบคุณภาพ องค์ประกอบคุณภาพ มี 9 องค์ประกอบที่ต้องรับการประเมิน และในปีนี้ ต้องแสดงผลการจัดการด้านคุณภาพในองค์ประกอบที่ 10 แต่ยังไม่ต้องประเมิน แต่ละองค์ประกอบจะต้องมีตัวบ่งชี้ ข้อมูลอ้างอิง (หลักฐานการดำเนินงาน) เกณฑ์มาตรฐานแสดงอย่างชัดเจนเป็นขั้น เป็นตอน

กระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา 4 ขั้นตอนตามระบบการพัฒนาคุณภาพ P (Plan) = การวางแผน D = (Do) การดำเนินงานและเก็บข้อมูล C = (Check) การประเมินคุณภาพ A =(Act) การเสนอแนวทางปรับปรุง *ข้อควรตระหนัก (การดำเนินงานทุกเรื่องต้องมีการวางแผนอย่างครบถ้วน เก็บหลักฐานทุกชิ้น นำส่งผู้รับผิดชอบตามที่มีการตกลงกันไว้ ทำงานทุกอย่างเพื่องานด้วยน้ำใสใจจริง และทำตลอดปี ไม่ใช่ทำเมื่อถึงเวลาจะรับการประเมิน)

Q & A Thank You