การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล ภารกิจถ่ายโอน การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล
งบประมาณ การถ่ายโอน จัดทำ และอนุมัติแผน
วิธีการจัดทำ - รายปี ทบทวน เวทีประชาคม - ระยะยาว ( 3 – 5 ปี ) กระบวนการจัดทำแผนชุมชน ทบทวนแผนแม่บท
กระบวนการจัดทำแผนชุมชน กระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง สร้างโอกาสให้ชุมชนร่วมคิด ร่วมทำ เพื่อแสวงหาแนวทางและวางแผนชุมชนด้วยตนเอง
จัดเวทีทำแผนพัฒนาการเกษตรประจำตำบล ( แผนชุมชน ) = เวทีเรียนรู้โดยใช้เวทีระดับตำบลเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อน
กระบวนการจัดทำแผนชุมชน ค้นหาผู้นำอาสาสมัคร สร้างจิตสำนึกร่วมให้ชุมชน 3. เรียนรู้พัฒนาการของชุมชน 4. ค้นหาศักยภาพของชุมชน + ปัญหา 5. ศึกษาพื้นที่ต้นแบบ 6. กำหนดแผนชุมชน( แนวทางพัฒนาการของชุมชน ) 7. ประชาพิจารณ์แผน 8. ปฏิบัติตามแผน 9. ติดตามประเมินผล
แผนปฏิบัติงานตามคู่มือการถ่ายโอนภารกิจกรมส่งเสริมการเกษตร รัฐให้ข้อมูล คำปรึกษาและแนวทางพัฒนาการเกษตรให้ อปท.เพื่อประกอบการจัดทำแผน ของ อปท. จัดเวทีชุมชน (ประกอบด้วย ผู้นำต่าง ๆ ในแต่ละหมู่บ้าน ) สร้างจิตสำนึกในการพัฒนาแบบพึ่งพาตนเอง พึ่งพาซึ่งกันและกันและการทำงานเพื่อส่วนรวม ทบทวนแผนแม่บท เดิม
อปท. รวบรวมข้อมูลที่ใช้ประกอบการจัดทำแผน - เรียนรู้ถึงพัฒนาการของชุมชนตนเองในอดีตที่ผ่านมาและสถานการณ์ของชุมชนในปัจจุบัน ( การผลิตการเกษตรทรัพยากรธรรมชาติ เศรษฐกิจ สังคม) เรียนรู้ศักยภาพของชุมชนตนเอง(สำรวจข้อมูลในเรื่อง ข้อดี ข้อด้อย) ศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบ
อปท. ดำเนินการวิเคราะห์และจัดทำแผนด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลที่ดำเนินการได้และมาสรุปภาพรวมเป็นข้อมูลระดับตำบล กำหนดแนวทางพัฒนาของชุมชน (ทิศทางการพัฒนา) ยกร่างแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล (กิจกรรม/โครงการ) จัดทำสัญญาประชาคม ( เวทีประชาพิจารณ์ ) จัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล
การกำกับ/ควบคุม/ตรวจสอบโดย ผอ.ศูนย์ เกษตรอำเภอ อบต. กำกับ/ควบคุม/ตรวจสอบ แผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล