การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
Advertisements

การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
ขั้นตอนการจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนตำบล
ประเด็นการตรวจติดตาม
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
ทะเบียนเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร.
นายจรัส ทะนะศรี นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร จัดกิจกรรมตามโครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช ปี 2556 ณ ที่ทำการศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน ตำบลแก่งเค็ง.
รายงานการระบาดศัตรูพืช
แนวทางการกำหนดราคาค่าทดแทนไม้ยืนต้น พิจารณาดังนี้
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
แผนและผล การปฏิบัติงาน ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2553
What is the optimum stocking rate ?
การขอรับการสนับสนุนน้ำเพื่อการเกษตรจากเขื่อนนเรศวร
แผนที่ตำบลหนองไฮ อำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอำนาจเจริญ
ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
การทำน้ำหมักสมุนไพรขับไล่แมลงในสวนผัก
การสำรวจข้อมูลรายได้เกษตรกรที่ยากจน ในชุมชนยากจนปี 2549
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
แบ่งออกเป็น 3หมวด คือ 1. ข้อมูลหมวด ก. เป็นข้อมูลส่วนบุคคลของ เกษตรกร ประกอบด้วย ข้อ 1. ลักษณะการประกอบการเกษตร ข้อ 2. สมาชิกในครัวเรือนที่ร่วมกิจกรรม.
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศ กับการบริหารศัตรูพืช
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
สำนักงานเกษตรจังหวัด
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
โครงการขึ้นทะเบียนการปลูก พืชเศรษฐกิจหลัก 3 ชนิด
ประชุมประจำเดือนมิถุนายน 2554 โดย.. นายเดชา กิตติตระกูล.
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
การออกใบรับรองเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2551 /52
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
สำนักงานจัดรูปที่ดินจังหวัดราชบุรี
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
การติดตามประเมินผลและรายงาน_Louis_500227
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
การขึ้นทะเบียนผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจหลัก เพื่อโครงการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55 กรมส่งเสริมการเกษตร.
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
ผู้ช่วยเลขา สามารถจัดตั้งกองทุนพัฒนา อาชีพการเกษตร เพื่อช่วยเหลือ เกษตรกรเป็น แบ่งการบริหาร ลงในกลุ่มรับผิดชอบทั้งหมด 5 กลุ่ม คือ 1. กองทุนพันธุ์สัตว์
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
วัตถุประสงค์ เพื่อสำรวจข้อมูลผลผลิตเมล็ดพันธุ์ของศูนย์ข้าวชุมชน ในปีการผลิต 2554/2555 เพื่อใช้เป็นข้อมูลแหล่งเมล็ดพันธุ์ข้าวในการสนับสนุนมาตรการเยี่ยวยาชาวนาหลังน้ำลด.
แนวทางการวิเคราะห์สำหรับภาษีอากร
ระบบส่งน้ำสถานีสูบน้ำ PL2 PL3
แบบประวัติและผลงานดีเด่น “ เกษตรกรดีเด่น ” ปี 2555 สาขา อาชีพทำนา นายวิสา ยางเอน 42 หมู่ 1 ตำบลนาวังหิน อำเภอพนัสนิคม.
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
ปฏิทินการประชุม คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค.ก.ค. ส.ค.ส.ค. ก.ย.ก.ย. ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค
กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว รอบที่ 1 ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ที่ปลูกเหมือนภาคอื่นๆ.
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
ขั้นตอนการประเมินสมรรถนะและการวางแผนพัฒนารายบุคคล
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว 1. จัดประชาคม ในแต่ละหมู่บ้าน ให้เชิญ สมาชิก ศจช. หรือผู้แทนเกษตรกรที่พบการระบาดของศัตรูมะพร้าว ประมาณร้อยละ 10 ของเกษตรกรในหมู่บ้าน ประชุมหารือสอบถามพื้นที่ระบาดและพื้นที่ปลูกของเกษตรกรแต่ละรายเพื่อประมาณการพื้นที่ระบาดทั้งหมดในหมู่บ้าน (ไร่)

การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว 2. ลงพื้นที่สำรวจจริง 2.1 สุ่มในพื้นที่ 1 หมู่บ้าน อย่างน้อย 10 ราย รายละ 1แปลง กระจายทั่วทั้งพื้นที่กรณีที่หมู่บ้านใด มีแปลงปลูกมะพร้าวน้อยกว่า 10 แปลงให้สำรวจทุกแปลง 2.2 นับต้นที่แสดงอาการถูกทำลายทุกต้น แบ่งระดับการทำลาย เป็น 3 ระดับ

การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว แมลงดำหนาม ระดับความรุนแรงของการทำลายเป็น 3ระดับ - การทำลายระดับน้อย คือ ต้นมะพร้าว มีทางใบยอดที่ถูกทำลาย 1-5 ทาง - การทำลายระดับปานกลาง คือ ต้นมะพร้าวมีทางใบยอด ที่ถูกทำลาย 6-10ทาง - การทำลายระดับรุนแรง คือ ต้นมะพร้าว มีทางใบยอดที่ถูกทำลาย ตั้งแต่ ๑๑ ทางขึ้นไป หมายเหตุ -ถ้าทางใบใหม่ที่คลี่ออกมาไม่ถูกทำลายให้ถือว่าไม่มีการระบาดแล้ว

การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว หนอนหัวดำ แบ่งระดับความรุนแรงของการทำลายเป็น 3 ระดับ ดังนี้ - การทำลายระดับน้อย คือ ต้นมะพร้าวมีทางใบเขียวที่สมบูรณ์ไม่มีร่องรอยการทำลายตั้งแต่ 13 ทางขึ้นไป - การทำลายระดับปานกลาง คือ ต้นมะพร้าวมีใบเขียว ที่สมบูรณ์ไม่มีร่องรอยการทำลาย 12-6 ทาง - การทำลายระดับรุนแรง คือ ต้นมะพร้าวมีใบเขียว ที่สมบูรณ์ไม่มีร่องรอยการทำลาย 5-0 ทาง

การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว 3. บันทึกข้อมูลลงใน แบบสำรวจประเมินพื้นที่ระบาดของศัตรูมะพร้าว 4. นำข้อมูลมาคำนวณพื้นที่และจำนวนรายที่พบการระบาด ตามระดับการระบาด รายงานกรมส่งเสริมการเกษตร

การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว ตัวอย่าง การคำนวณพื้นที่ระบาด 1. สุ่มสำรวจศัตรูมะพร้าวในพื้นที่ 1หมู่บ้าน อย่างน้อย 10 แปลง รวมพื้นที่ 10 แปลง 134 ไร่ ตามตาราง    

  ระดับการระบาด แปลงที่ พื้นที่ น้อย ปานกลาง รุนแรง หมายเหตุ ไร่ (ต้น) 1 10 25 50 75 จำนวนมะพร้าว 2 15 25 ต้นเท่ากับ 3 20 100  1 ไร่ 4 12 5 6 16 70 7 30 8 9 18 รวม (ต้น) 134 245 180 220 รวม(ไร่)  9.8 7.2 8.8

การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว   2. แยกพื้นที่การระบาด จาก 10 แปลง นับจำนวนต้นที่ระบาด 25 ต้น เท่ากับ 1 ไร่ 2.1 ระบาดน้อย 10 แปลง นับได้ 245 ต้น เท่ากับ 9.8 ไร่ 2.2 ระบาดปานกลาง 10 แปลง นับได้ 180 ต้น เท่ากับ 7.2 ไร่ 2.3 ระบาดรุนแรง 10 แปลง นับได้ 220 ต้น เท่ากับ 8.8 ไร่ 3. พื้นที่ปลูกทั้งหมู่บ้าน สมมุติ 10,000 ไร่    

การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว 4. คำนวณพื้นที่การระบาด ทั้งตำบล แยกความรุนแรง พื้นที่ระบาดน้อย (ข้อ 2.1) x พื้นที่ปลูกทั้งหมู่บ้าน (ข้อ 3) พื้นที่สุ่มสำรวจ 10 แปลง (ข้อ 1) 9.8 x 10000 = 731 ไร่ 134

การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว พื้นที่ระบาดปานกลาง (ข้อ 2.2) x พื้นที่ปลูกทั้งหมู่บ้าน(ข้อ 3) พื้นที่สุ่มสำรวจ 10 แปลง (ข้อ 1) 7.2 x 10000 = 537 ไร่ 134

การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว ตัวอย่าง การคำนวณจำนวนรายของเกษตรกรที่ได้รับความเสียหายในหมู่บ้าน - จำนวนเกษตรกรที่ปลูกมะพร้าวทั้งหมู่บ้าน เท่ากับ 1,000 ราย - จำนวนเกษตรกรเจ้าของแปลงที่สำรวจ 10 แปลง เท่ากับ 10 ราย - จำนวนรายของเกษตรกรที่ได้รับความเสียหายจาก 10 แปลง เท่ากับ 7 ราย ประมาณการจำนวนรายของเกษตรกรที่ได้รับความเสียหายในหมู่บ้าน เกษตรกรที่ปลูกมะพร้าวทั้งหมู่บ้าน x จำนวนรายของเกษตรกรที่ได้รับความเสียหายในหมู่บ้าน จำนวนเกษตรกรเจ้าของแปลงที่สำรวจ 10 แปลงเท่ากับ 10 ราย แทนค่า = 1 ,000 ราย x 7 ราย = 700 ราย 10 ราย