โรงเรียนอรรถวิทยพณิชยการ บทเรียนออนไลน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การกำหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
บทที่ 10 ระบบบัญชีเกี่ยวกับการควบคุมสินค้าคงเหลือ
บทที่ 11 ระบบบัญชีต้นทุนการผลิตสินค้า
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
Product and Price ครั้งที่ 8.
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ยิ่งยศ ศรีบุญเรือง คณะกรรมการ
บทที่ 13 การผลิตแบบทันเวลาพอดี
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
Object-Oriented Analysis and Design
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
สรุปประเด็นหารือ.
Production Chart.
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
งบการเงินตามแนวคิดการบริหารและต้นทุนจริง
การตีราคาสินค้าคงเหลือ และ ต้นทุนขาย
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ระบบบัญชีเดี่ยว.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
วงจรรายจ่าย วงจรที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่อไปนี้
งบลงทุน Capital Budgeting
ลักษณะพิเศษของบัญชีแยกประเภทแต่ละรายการ
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
น.ส.เสาวลักษณ์ วิจิตรโสภา
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
การวิเคราะห์ต้นทุนรายอาชีพ
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 18 กันยายน 2552
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
(Transaction Processing Systems)
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม
แผนผังทางเดินเอกสาร - ระบบบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ
สินค้าคงเหลือ.
สมุดบันทึกรายการขั้นต้น
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
หน่วยที่ 2 ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป
บทที่ 6 การปิดบัญชี การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
การปรับปรุงวิธีการคิดต้นทุนงานบริการวิชาการ
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
การวางแผนการผลิต และการบริการ
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ผู้วิจัย อาจารย์พิศมัย เดชคำรณ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ต้นทุนการผลิต.
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
>>0 >>1 >> 2 >> 3 >> 4 >> เมนูแผนของบประมาณ แสดงวิธีการบันทึกข้อมูลหน้าระบบทีละขั้นตอน ข้อพิจารณา : ผู้สร้างต้องมีข้อมูล ดังนี้ - แผนปฏิบัติราชการ หรือโครงการภายใต้แผนปฏิบัติ
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่3 ระบบการผลิตและการวางแผนกระบวนการผลิต
วิชาระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
บทที่1 การบริหารการผลิต
Accounts payable system
 วัตถุประสงค์กำหนดรายละเอียดของโครงการแต่ละคณะ / หน่วยงาน  ผู้ใช้งาน ผู้จัดทำโครงการของแต่ละคณะ / หน่วยงาน รูปแสดงหน้าจอบันทึกข้อมูล โครงการ.
ความหมายของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงเรียนอรรถวิทยพณิชยการ บทเรียนออนไลน์ นำเข้าสู่บทเรียน บทที่1 การบัญชีต้นทุนช่วง บทที่2 การบัญชีต้นทุนช่วง(ต่อ) บทที่3 ผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้ บทที่ 4 การบัญชีต้นทุนมาตรฐาน สอนโดย บทที่ 5 การบัญชีต้นทุนผันแปร หรือการบัญชีต้นทุนทางตรง อาจารย์สุภาภรณ์ จันทร์นอก บทที่ 6 การใช้ข้อมูลต้นทุนในการ ตัดสินใจระยะสั้น บทที่ 7 งบประมาณ บทที่ 8 การวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายลงทุน

สาระการเรียนรู้บทที่ 1 1. ความหมายของการบัญชีต้นทุนช่วง 2. ลักษณะของการบัญชีต้นทุนช่วง 3. ข้อแตกต่างของการบัญชีต้นทุนงานและการบัญชีต้นทุนช่วง 4. รูปแบบของกระบวนการผลิต 5. วงจรการบัญชีต้นทุนช่วง 6. การคำนวณหน่วยเทียบเท่าหน่วยที่ผลิตเสร็จ 7. การจัดทำงบหรือรายงานต้นทุนการผลิต

การบัญชีต้นทุนช่วงเป็นการผลิตสินค้าชนิดเดียวกันแบบต่อเนื่อง และผลิตเป็นจำนวนมากๆ โดยที่สินค้าจะผ่านกระบวนการผลิตมากกว่า 1 แผนก ซึ่งการผลิตจะเก็บไว้เพื่อขาย ไม่ผลิตตามคำสั่งของลูกค้า เพราะระบบต้นทุนช่วงจะเน้นทั้งงวดเวลา และจำนวนหน่วยผลิตที่ผลิตเสร็จ ในระบบนี้จะสะสมต้นทุนการผลิต เมื่อถึงวันสิ้นเดือนจะจัดทำงบต้นทุนการผลิตหรือรายงานต้นทุนการผลิต ที่แสดงถึงต้นทุนการผลิตรวมและต้นทุนการผลิตต่อหน่วยของแผนกนั้นๆ

ลักษณะสำคัญของการบัญชีต้นทุนช่วงมีดังนี้ 1. มีการรวบรวมข้อมูลการผลิตและจัดทำรายงานเป็นแผนกๆ เช่น แผนกตัด แผนกประกอบ และแผนกตกแต่ง 2. ต้นทุนวัตถุดิบ ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายผลิตที่เกิดขึ้นจริงในแผนกจะถูกรวบรวมเป็นงวดๆ และจะบันทึกในบัญชีงานระหว่างทำของแผนก 3. การรวบรวมข้อมูลหน่วยผลิตเสร็จจากแผนกนั้นๆ กรณีที่มีงานระหว่างทำต้นงวดและปลายงวด ต้องปรับหน่วยงานระหว่างทำให้อยู่ในรูปหน่วยเทียบเท่า 4. คำนวณต้นทุนหน่วยของแผนกต่างๆ ในแต่ละงวด 5. ต้นทุนของหน่วยผลิตเสร็จจะโอนออกจากบัญชีงานระหว่างทำไปยังบัญชีงานระหว่างทำแผนกถัดไปหรือบัญชีสินค้าสำเร็จรูป 6. การสะสมต้นทุนรวมและต้นทุนต่อหน่วยในแผนกต่างๆ จะนำไปแสดงไว้ในงบต้นทุนการผลิตหรือรายงานต้นทุนการผลิต

ข้อแตกต่างระหว่างการบัญชีต้นทุนงานและการบัญชีต้นทุนช่วง สรุปได้ดังนี้ 1. ผลิตสินค้าตามคำสั่งของลูกค้า 2. ลักษณะสินค้าแตกต่างกันมาก เนื่องจากผลิตตามคำสั่งของลูกค้า 3. รวบรวมต้นทุนตามคำสั่งผลิตเป็นงานๆ และใช้บัตรต้นทุนงานเป็นบัญชีย่อย 4. มีการระบุต้นทุนที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของการผลิต คือต้นทุนวัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรงเข้างานแต่ละชิ้น ส่วนที่ไม่สามารถคิดเข้างานได้โดยตรงจะใช้อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร 5. เน้นต้นทุนที่ผลิตขึ้นแต่ละงาน หรือตามคำสั่งผลิตแต่ละคำสั่ง การบัญชีต้นทุนช่วง 1. ผลิตสินค้าเพื่อขายและผลิตเป็นจำนวนมาก 2. กรณีที่ผลิตสินค้าเพียงชนิดเดียว สินค้าจะมีลักษณะเหมือนกัน ไม่แตกต่างกัน 3. รวบรวมต้นทุนตามแผนกผลิตมีงบหรือรายงานต้นทุนการผลิตเป็นบัญชีย่อย 4. ไม่ต้องแยกว่าเป็นต้นทุนทางตรงหรือทางอ้อมเพราะไม่คิดเข้างานหรือตัวสินค้าโดยตรง จะคิดต้นทุนประเภทเข้าแผนกผลิตก่อน แล้วจึงคำนวณเข้าตัวสินค้าในภายหลัง 5. เน้นต้นทุนที่เกิดขึ้นในแผนกโดยพิจารณาตามงวดเวลา

กระบวนการผลิตแบ่งออกเป็น 3 แบบคือ 1. กระบวนการผลิตแบบเรียงลำดับ สินค้าสำเร็จรูป แผนก 1 แผนก 2 แผนก 3 วัตุดิบ 2. กระบวนการผลิตแบบขนาน วัตถุดิบ แผนก 1 แผนก 2 สินค้าสำเร็จรูป แผนก 5 วัตถุดิบ แผนก 3 แผนก 4 3. กระบวนการผลิตแบบเลือกแผนก สินค้าสำเร็จรูป วัตถุดิบ แผนก 1 สินค้าสำเร็จรูป แผนก 1 สินค้าสำเร็จรูป