นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
การสำรวจข้อมูลตามโครงการเฝ้าระวัง ภาวะขาดไอโอดีนแบบบูรณาการ ปี 57
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ไอโอดีนมีอยู่ทุกที่ ดูให้ดี กินให้เป็น
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการดำเนินงานการตั้งครรภ์หญิง วัยรุ่น o ๑. มาตรการด้านบริหารจัดการ การประชุมพิจารณา กรอบแนวทางการประเมินผลตามตัวชี้วัด และ มาตรฐานการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญ.
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ การดำเนินงานโครงการควบคุมป้องกัน โรคขาดสารไอโอดีน โดย นางสิตา สุขเจริญ นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

วัตถุประสงค์ สร้างเสริมศักยภาพภาคีเครือข่ายและสนับสนุนมาตรการ เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ สู่กลุ่มเป้าหมายได้อย่างทั่วถึง และต่อเนื่อง เพื่อขจัดปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนให้หมดไป เพื่อรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักเรื่องไอโอดีนมีผลต่อการพัฒนาการสมวัย และ สติปัญญา รวมทั้งการใช้เกลือและผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีน

1. ครัวเรือนที่มีการใช้เกลือเสริมไอโอดีน เป้าหมาย 1. ครัวเรือนที่มีการใช้เกลือเสริมไอโอดีน (ไอโอดีนไม่น้อยกว่า 30 ppm) ร้อยละ 90 2. ปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะของหญิงตั้งครรภ์ น้อยกว่า 150 g/L ร้อยละ 50 3. ขับเคลื่อนชุมชน/หมู่บ้านทุกแห่งสู่การเป็นไอโอดีน

บทบาทศูนย์ฯ 1. จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานฯ กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ - วันไอโอดีนแห่งชาติ - ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ 3. สร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย - สนับสนุนให้เกิดชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนตามเกณฑ์ - สนับสนุนมาตรการในการควบคุม และป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน โดย - ประชาชนทุกเพศทุกวัยใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ - หญิงตั้งครรภ์ทุกราย ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน วันละ 1 เม็ด ตลอดการตั้งครรภ์และขณะเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน

บทบาทศูนย์ฯ (ต่อ) 4.นิเทศติดตาม สนับสนุน

แนวทางการการดำเนินงานระดับจังหวัด 1.มาตรการเกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า . ควบคุม กำกับ และปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องเกลือบริโภค . ควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน . ส่งเสริมให้มีการขายเกลือเสริมไอโอดีนและผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีน

แนวทางการการดำเนินงานระดับจังหวัด 2. การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ . การรณรงค์ในวันไอโอดีนแห่งชาติ/เทศกาลสำคัญ ของจังหวัด . ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อมวลชน วิทยุชุมชน หอกระจายข่าว อสม.

แนวทางการการดำเนินงานระดับจังหวัด 3. บริหารจัดการและสร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย . ประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อุสาหกรรมจังหวัด ปศุสัตว์จังหวัด ประชาสัมพันธ์จังหวัด ฯลฯ . ส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาผู้ประกอบการเกลือและผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีน . ผลักดันให้อปท. มีนโยบายและมาตรการการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน โดยกองทุนสุขภาพตำบล . ขับเคลื่อนให้เกิดชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนตามเกณฑ์

แนวทางการการดำเนินงานระดับจังหวัด 4. มาตรการเสริม . การเสริมไอโอดีนในน้ำดื่ม( 2 หยดต่อน้ำ 10 ลิตร ) . ยาเม็ดเสริมไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ และหญิงเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน ทุคน (ในสถานบริการของรัฐ)

แนวทางการการดำเนินงานระดับจังหวัด 5. การเฝ้าระวังและติดตาม . ตรวจไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ . ตรวจคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนที่ใช้ในครัวเรือน จุดผลิต ร้านค้า ศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน โดยชุด I-kit . ติดตาม ประเมินผล

สวัสดี