นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ การดำเนินงานโครงการควบคุมป้องกัน โรคขาดสารไอโอดีน โดย นางสิตา สุขเจริญ นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
วัตถุประสงค์ สร้างเสริมศักยภาพภาคีเครือข่ายและสนับสนุนมาตรการ เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ สู่กลุ่มเป้าหมายได้อย่างทั่วถึง และต่อเนื่อง เพื่อขจัดปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนให้หมดไป เพื่อรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักเรื่องไอโอดีนมีผลต่อการพัฒนาการสมวัย และ สติปัญญา รวมทั้งการใช้เกลือและผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีน
1. ครัวเรือนที่มีการใช้เกลือเสริมไอโอดีน เป้าหมาย 1. ครัวเรือนที่มีการใช้เกลือเสริมไอโอดีน (ไอโอดีนไม่น้อยกว่า 30 ppm) ร้อยละ 90 2. ปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะของหญิงตั้งครรภ์ น้อยกว่า 150 g/L ร้อยละ 50 3. ขับเคลื่อนชุมชน/หมู่บ้านทุกแห่งสู่การเป็นไอโอดีน
บทบาทศูนย์ฯ 1. จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานฯ กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ - วันไอโอดีนแห่งชาติ - ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ 3. สร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย - สนับสนุนให้เกิดชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนตามเกณฑ์ - สนับสนุนมาตรการในการควบคุม และป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน โดย - ประชาชนทุกเพศทุกวัยใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ - หญิงตั้งครรภ์ทุกราย ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน วันละ 1 เม็ด ตลอดการตั้งครรภ์และขณะเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน
บทบาทศูนย์ฯ (ต่อ) 4.นิเทศติดตาม สนับสนุน
แนวทางการการดำเนินงานระดับจังหวัด 1.มาตรการเกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า . ควบคุม กำกับ และปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องเกลือบริโภค . ควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน . ส่งเสริมให้มีการขายเกลือเสริมไอโอดีนและผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีน
แนวทางการการดำเนินงานระดับจังหวัด 2. การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ . การรณรงค์ในวันไอโอดีนแห่งชาติ/เทศกาลสำคัญ ของจังหวัด . ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อมวลชน วิทยุชุมชน หอกระจายข่าว อสม.
แนวทางการการดำเนินงานระดับจังหวัด 3. บริหารจัดการและสร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย . ประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อุสาหกรรมจังหวัด ปศุสัตว์จังหวัด ประชาสัมพันธ์จังหวัด ฯลฯ . ส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาผู้ประกอบการเกลือและผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีน . ผลักดันให้อปท. มีนโยบายและมาตรการการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน โดยกองทุนสุขภาพตำบล . ขับเคลื่อนให้เกิดชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนตามเกณฑ์
แนวทางการการดำเนินงานระดับจังหวัด 4. มาตรการเสริม . การเสริมไอโอดีนในน้ำดื่ม( 2 หยดต่อน้ำ 10 ลิตร ) . ยาเม็ดเสริมไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ และหญิงเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน ทุคน (ในสถานบริการของรัฐ)
แนวทางการการดำเนินงานระดับจังหวัด 5. การเฝ้าระวังและติดตาม . ตรวจไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ . ตรวจคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนที่ใช้ในครัวเรือน จุดผลิต ร้านค้า ศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน โดยชุด I-kit . ติดตาม ประเมินผล
สวัสดี