Computer Seminar (310492) สัมมนาทางคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนะนำการใช้งานระบบ คลิก เข้าเรียน
Advertisements

สรุปภาพรวมการเรียนรู้
หัวข้อรายงาน และอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่ม
การเขียนบทความ.
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
ACM คืออะไร หน้าจอหลัก
รายละเอียดของการทำ Logbook
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
กระบวนการตีพิมพ์งานวิจัย ในวารสารวิชาการ
รายละเอียดของการทำ Logbook
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
รหัสวิชา ระเบียบวิธีการวิจัย (Research Methodology)
แผนการจัดการเรียนรู้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การเขียนรายงานการวิจัย
นางสาว สุพรรษา ชัยนิกูล
Seminar in computer Science
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
ของวิชา การรู้สารสนเทศInformation Literacy
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเขียนรายงานการทดลอง
Management Information Systems
Seminar in Information Technology II
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
รูปแบบ Story Board อย่างง่าย
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
วิชา การสืบค้นสารสนเทศ ขั้นสูง ( Advanced Information Retrieval ) รหัสวิชา (2-2)
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ชุดวิชา QM604 วิธีการวิจัยและพัฒนาคุณภาพ RESEARCH AND DEVELOPMENT IN QUALITY ผศ.ดร.กฤษดา กรุดทอง.
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
การเขียนบทความทางวิชาการ
การเขียนบทความทางวิชาการ
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
ฐานข้อมูล Science Direct
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
ขั้นตอนการจัดทำโครงงาน
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
แนวคิดในการทำวิจัย.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
บทที่ 10 และการเขียน Abstract และการเขียนบทที่ 5
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การฝึกงาน รายวิชาในกลุ่มวิชาเอกบังคับของหลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา การฝึกปฏิบัติงานจริง จะทำให้นิสิตได้มีโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
การเขียนรายงาน.
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การสร้างสื่อ e-Learning
บทที่ 10 และการเขียน Abstract และการเขียนบทที่ 5.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Computer Seminar (310492) สัมมนาทางคอมพิวเตอร์ Computer Science Department Faculty of Science Burapha University Nuansri Denwattana

วัตถุประสงค์ สามารถศึกษาค้นคว้าวิทยาการได้ด้วยตนเอง มีทักษะในการเขียนรายงานและนำเสนอผลงาน ให้มีความรู้ในวิทยาการใหม่ๆ

กิจกรรมการเรียนการสอน บรรยายโดยวิทยากร บรรยายโดยอาจารย์ผู้ควบคุมรายวิชา นำเสนอผลงานโดยนิสิต

การวัดและประเมินผล (1) ส่วนของวิทยากร และ/หรือ อาจารย์บรรยาย - นิสิตทำรายงานสรุปเฉพาะคน (หนึ่งคนต่อรายงานหนึ่งฉบับ) - นิสิตหนึ่งคนทำเพียงหนึ่งเรื่องจากการบรรยายทั้งหมด - รายงานนี้ส่งที่อาจารย์ผู้ควบคุมวิชาหลังจากการบรรยายหนึ่งสัปดาห์

การวัดและประเมินผล (2) การนำเสนอโดยนิสิต ประเมินจากการนำเสนอผลงานและภาคนิพนธ์ของนิสิต โดยอาจารย์ที่ปรึกษา 70% ประเมินจากผลงานของนิสิตโดยอาจารย์ผู้ควบคุมรายวิชา 30% การประเมินผลประกอบด้วย - เนื้อหาและความเข้าใจในเนื้อหา - การนำเสนอและการตอบคำถาม - การเขียนภาคนิพนธ์ - อาจารย์ที่ปรึกษาต้องเข้าฟังการบรรยายของนิสิตในที่ปรึกษาด้วย

แหล่งข้อมูลวิทยาการ บทความทางวิทยาการจากวารสารทางคอมพิวเตอร์ (Magazine, Journal ของ IEEE หรือ ACM) บทความทางวิชาการจาก Proceedings ซึ่งได้จากการประชุมวิชาการ สามารถหาได้ทั้งที่เป็นสิ่งพิมพ์หรือทาง Internet แหล่งข้อมูลอื่นๆ จาก Search engine เช่น google

ข้อมูลอย่างไรเรียกว่าเป็นวิทยาการ? มีเนื้อหาอยู่ใน “ศาสตร์” ของวิทยาการที่เราสนใจ เป็นการกล่าวถึง “ศาสตร์” ในเรื่องของความเป็นจริง มากกว่าการให้ข้อวิพากย์ วิจารณ์ มักจะอยู่ในรูปแบบที่เป็นทางการ เช่น บทความทางวิชาการ หรือ หนังสือ ไม่ใช่การโฆษณา

วิทยาการใดเหมาะสมที่จะนำเสนอในวิชา 310492 ต้องเป็น “ศาสตร์” ใหม่ๆ หรือทันสมัย ไม่ควรเป็นบทเรียน (Chapters) ในรายวิชาของภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์หรือระบบสารสนเทศ ควรเป็นเรื่องที่นิสิตสนใจและอาจจะขยายเรื่องดังกล่าวเป็นโครงงาน (Senior Project) ในวิชา 310491 บทความที่จะนำเสนอต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนที่นิสิตจะนำมาเสนอ

การนำเสนอ (Presentation) แนะนำตัวและหัวเรื่องที่จะนำเสนอ บทนำ (Introduction) เกี่ยวกับเรื่องที่จะนำเสนอ วัตถุประสงค์หรือประเด็นหลัก (Main idea) ของเรื่องที่จะนำเสนอ รายละเอียดของเรื่องที่จะนำเสนอ สรุป คำวิจารณ์ ความคิดเห็นเกี่ยวกับบทความที่ได้นำเสนอ

กติการในการนำเสนอผลงานของรายวิชา 310492 นิสิตแต่ละคนนำเสนอผลงานได้เพียงครั้งเดียวต่อการลงทะเบียนหนึ่งครั้ง นิสิตมีเวลาในการนำเสนอไม่เกินคนละ 20 นาที และตอบข้อซักถามในเวลา 5-10 นาที นิสิตคนใดที่ไม่สามารถควบคุมเวลาได้จะถูกตัดคะแนนในส่วนของการนำเสนอ จากอาจารย์ผู้ควบคุมรายวิชา

การเขียนภาคนิพนธ์ ส่วนของปกหน้าประกอบด้วย หัวเรื่อง (Title) ชื่อ-ชื่อสกุลของนิสิต และรหัสประจำตัว ชื่อ-ชื่อสกุลของอาจารย์ที่ปรึกษา ชื่อวิชา ภาคและปีการศึกษา ภาควิชา คณะ และมหาวิทยาลัยที่นิสิตสังกัดอยู่

การเขียนภาคนิพนธ์ (ต่อ) ส่วนของเนื้อหาประกอบด้วย บทคัดย่อภาษาไทย (Abstract) บทนำ (Introduction) อาจรวมถึงความเป็นมาของเรื่องที่นำเสนอ (Literature Review) ถ้ามี รายละเอียดของเนื้อเรื่อง บทสรุป ข้อเสนอแนะของผู้เขียนบทความ หนังสือ/บทความ อ้างอิง (References)

ลักษณะของงานเขียนภาคนิพนธ์ที่ดี มีเอกภาพ (Unity) มีสัมพันธภาพ (Connectivity) มีความถูกต้อง (Accuracy) มีความกระจ่าง (Clarity) มีความกระทัดรัด (Conciseness) มีความต่อเนื่อง (Continuity) มีการให้ความรู้ (Knowledge) มีความคงเส้นคงวา (Consistency) มีการใช้ภาษาที่เหมาะสม (Language Appropriateness) มีความน่าอ่าน (Attractiveness)