นางสาวเยียรมัย เพ็งสวัสดิ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ นำเข้าสู่บทเรียนและสรุปบทเรียน Company Logo.
กำแพงเมืองจีน (ที่มา :
ทัชมาฮาล (ที่มา : เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของภูมิภาคเอเชียใต้ นำเข้าสู่บทเรียนและสรุปบทเรียน ทัชมาฮาล.
สภาพแวดล้อมทางกายภาพของโลก
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
แบบทดสอบ รูปทรงสัณฐานของโลกลักษณะใดทำให้โลกมิได้มีทรงกลมเหมือนลูกปิงปอง ก แกนของโลก เอียง ข มีผิวขรุขระคล้ายผลส้ม ค ขั้วโลกทั้งสองยุบตัวลงเล็กน้อย ง มีพื้นน้ำมากกว่าผิวพื้นดิน.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
เรื่อง จังหวัดสระบุรี เด็กชายอลังการ ตลุ่มทอง เลขที่ 18
สรุป เนื่องจากดูเหมือนว่าสิ่งแวดล้อมเป็นตัวกำหนดลักษณะการกระจายของพืชพรรณ ดังนั้นถ้าบริเวณใดมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมเหมือนที่เกิดขึ้นตามเส้นรุ้ง ก็น่าจะมีลักษณะของพืชพรรณเหมือนกันด้วย.
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปแอฟริกา
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
ภูมิประเทศภูมิภาคต่างๆ ของทวีปเอเชีย
“ไม่มีสิ่งมีชีวิตชนิดใด ที่สามารถอยู่ได้ตามลำพัง”
น้ำและมหาสมุทร.
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
ทวีปแอฟริกา เด็กชายวุฒิชัย เพชรฤทธิ์ เลขที่ 2 ม.3.
บทที่ 2 สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
นางสาว โศจิรัตน์ หลงอุย เลขประจำตัว คณะศึกษาศาสตร์
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. พีรวัส เกิดสมนึก เลขที่11 นำเสนอ
ความเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับการจัดการเทคโนโลยี การใช้ทรัพยากร อย่างยั่งยืน การผลิต เข้าใจพื้นฐาน สิ่งแวดล้อม ปราศจาก มลภาวะและการสูญเสีย.
สถานที่ท่องเที่ยวอำเภอ สามร้อยยอด
ประเภทของป่าไม้ ป่าไม้ในประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ 1. ป่าดงดิบหรือป่าไม้ที่ไม่ผลัดใบ 2. ป่าผลัดใบ ซึ่งแต่ละประเภทแบ่งย่อยออกไปเป็นชนิดต่าง ๆ ได้อีก.
แบบทดสอบ เรื่อง แผนที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
ลักษณะทางกายภาพของ ทวีปยุโรป.
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติในทวีปยุโรป
ลักษณะทางภูมิประเทศและภูมิอากาศของทวีปยุโรป
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
จังหวัดสตูล โดย นางสาวทิพากร เหร็บค่วนเคี่ยม
ตราด.
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
Biomes of the World.
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
El Nino ดั้งเดิมเป็นคำที่ชาวประมงเปรูใช้ เรียกปีที่มีการจับปลาในทะเลได้เป็นจำนวน มากกว่าปีอื่น ๆ แต่พื้นที่บกบริเวณด้าน ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิคเกิดภาวะแห้ง.
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
ไบโอม (biomes) ว ชีววิทยาพื้นฐาน คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา
“ทะเลสาบหนองหาน หรือ ทะเลบัวแดง ติดอันดับทะเลสาบที่แปลกที่สุดในโลก
คลิกที่ รูป ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติด ลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย.
Biomes of the World.
ภูมิอากาศแบบกึ่งอาร์กติก
ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วย เกาะต่าง ๆ ประมาณ 17,508 เกาะ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
โดย 2.น.ส.ญานิดา พูนสวัสดิ์ ม.6/5 เลขที่ 33
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย
น้ำ.
ให้นักเรียนดูภาพแผนที่ต่อไปนี้ แล้วช่วยบอกด้วยว่าเป็นแผนที่ชนิดใด
เด็กหญิง อนัญญา สุ ทะพรหมพิงค์ เลขที่ 38 ชั้นมัธยมปีที่ 2/12.
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปเอเชีย จัดทำโดย เด็กหญิง นภัสสร ประสิงห์ เลขที่ 17 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/7 เสนอ คุณครูอรอุมา พงษ์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
บทที่ 21 ระบบนิเวศ.
ระบบนิเวศ.
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวเยียรมัย เพ็งสวัสดิ์ ไบโอม (biomes) จัดทำโดย นางสาวเยียรมัย เพ็งสวัสดิ์ 55520677 14 5 2554

 ไบโอม (biomes) ไบโอม หรือ ชีวนิเวศ เป็นระบบนิเวศที่มี องค์ประกอบของ ไบโอม หรือ ชีวนิเวศ เป็นระบบนิเวศที่มี องค์ประกอบของ ปัจจัยทางกายภาพ เช่น อุณหภูมิ ความชื้น แสงสว่าง  ปัจจัยทางชีวภาพ เช่น พืชและสัตว์ที่ คล้ายคลึงกัน กระจัดกระจายอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ ต่างๆ กัน 14 5 2554

ไบโอมบนบก (terrestrial biomes) 2. ไบโอมในน้ำ (aquatic biomes)  ประเภทของไบโอม ไบโอมบนบก (terrestrial biomes) 2. ไบโอมในน้ำ (aquatic biomes) 14 5 2554

 1. ไบโอมบนบก ใช้เกณฑ์ปริมาณน้ำฝนและอุณหภูมิเป็นตัวกำหนด 1.1 ป่าดิบชื้น 1.2 ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น 1.3 ป่าสน 1.4 ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น 1.5 สะวันนา 1.6 ทะเลทราย 1.7 ทุนดรา 14 5 2554

ไบโอมบนบก (terrestrial biomes) 14 5 2554

ป่าดิบชื้น tropical rain forest 14 5 2554

ป่าดิบชื้น tropical rain forest เป็นป่าใกล้เส้นศูนย์สูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง ทวีป อเมริกาใต้ ทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชียตอนใต้ หมู่เกาะแปซิฟิก ภูมิอากาศร้อนและชื้น มีฝนตกตลอดปี ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 200-400 cm./ปี มีความอุดมสมบูรณ์สูงมาก พืช - สัตว์นับพันสปีชีส์ พืชเด่น : ไม้เถา หวาย เฟิร์น กล้วยไม้ ตัวอย่างในไทย ป่าฮาลา – บาลา นราธิวาส 14 5 2554

ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น (temperate deciduous forest) 14 5 2554

ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น (temperate deciduous forest) เป็นป่าในเขตละติจูดกลาง มีอากาศค่อนข้างเย็น ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 100 cm./ปี ต้นไม้มีการผลัดใบ พืชเด่น : ยูคาลิปตัส เมเปิล โอ๊ก ตัวอย่างในไทย ทุ่งแสลงหลวง พิษณุโลก 14 5 2554

ป่าสน (coniferous forest) ป่าไทกา (Taiga) และป่าบอเรียล (Boreal) มีต้นไม้เขียว ชอุ่มตลอดปี พบที่ตอนใต้แคนาดา ตอนเหนือทวีป อเมริกาเหนือ ทวีปเอเชีย และทวีปยุโรป เขตละติจูด 45 – 67 องศาเหนือ ภูมิอากาศมีฤดูหนาวยาวนาน อากาศเย็นและแห้ง พืชเด่น : สน เช่น ไพน์ (pine) เฟอ (fir) สพรูซ (spruce) เฮมลอค (hemlock) บลูเบอรี ตัวอย่างในไทย ภูสอยดาว อุตรดิตถ์ 14 5 2554

ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (temperate grassland) 14 5 2554

ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (temperate grassland) ทุ่งหญ้าแพรี่ (prairie) ทวีปอเมริกาเหนือ ทุ่งหญ้าสเตปป์ (steppes) รัสเซีย ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 25 – 50 cm./ปี เหมาะทำกสิกรรม และ ปศุสัตว์ พืชเด่น : ทานตะวัน ไอริส ดอกไม้ป่ารานันคูลัส หญ้า 14 5 2554

สะวันนา (savanna) 14 5 2554

สะวันนา (savanna) เป็นทุ่งหญ้าในทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกาใต้ ทวีป ออสเตรเลีย ตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ภูมิอากาศร้อน มักมีไฟป่า พืชเด่น : หญ้าต่างๆ ตัวอย่างในไทย ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร ตาก 14 5 2554

ทะเลทราย (desert) 14 5 2554

ทะเลทราย (desert) พื้นที่ที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยน้อยกว่า 25 cm./ปี ทะเลทรายซาฮารา (Sahara) ในทวีปแอฟริกา ทะเลทรายโกบี (Gobi) ในจีน ทะเลทรายโมฮาวี (Mojave) ในรัฐแคริฟอร์เนีย U.S.A พืชเด่น : กระบองเพชร อินทผาลัม 14 5 2554

ทุนดรา (tundra) 14 5 2554

2.1 แหล่งน้ำจืด 2.2 แหล่งน้ำเค็ม  2. ไบโอมในน้ำ 2.1 แหล่งน้ำจืด 2.2 แหล่งน้ำเค็ม 14 5 2554

ไบโอมในน้ำ (aquatic biomes) 14 5 2554

แหล่งน้ำจืด (freshwater biomes) 14 5 2554

แหล่งน้ำจืด (freshwater biomes) มีเกลือน้อยกว่าร้อยละ 0.1 หรือน้อยกว่า 1 ppt ประกอบด้วย แหล่งน้ำนิ่ง : สระ หนอง บึง ทะเลสาบ แบ่งออกเป็น 3 บริเวณ : ชายฝั่ง (littoral zone) ผิวน้ำ (limnetic zone) และน้ำชั้นล่าง (profundal zone) แหล่งน้ำไหล : ธารน้ำไหล แม่น้ำ แบ่งออกเป็น 2 บริเวณ (Zone) : น้ำไหลเชี่ยว (rapid zone) และแอ่งน้ำ (pool zone) 14 5 2554

แหล่งน้ำเค็ม (marine biomes) 14 5 2554

แหล่งน้ำเค็ม (marine biomes) มีปริมาณมากถึงร้อยละ 71 ของพื้นที่ผิวโลก ( 3 ใน 4 ส่วน) มีความลึกเฉลี่ย 3,750 เมตร มีเกลือเฉลี่ยร้อยละ 3.5 หรือ 35 ppt ประกอบด้วย ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทร 14 5 2554