นางสาวเยียรมัย เพ็งสวัสดิ์ ไบโอม (biomes) จัดทำโดย นางสาวเยียรมัย เพ็งสวัสดิ์ 55520677 14 5 2554
ไบโอม (biomes) ไบโอม หรือ ชีวนิเวศ เป็นระบบนิเวศที่มี องค์ประกอบของ ไบโอม หรือ ชีวนิเวศ เป็นระบบนิเวศที่มี องค์ประกอบของ ปัจจัยทางกายภาพ เช่น อุณหภูมิ ความชื้น แสงสว่าง ปัจจัยทางชีวภาพ เช่น พืชและสัตว์ที่ คล้ายคลึงกัน กระจัดกระจายอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ ต่างๆ กัน 14 5 2554
ไบโอมบนบก (terrestrial biomes) 2. ไบโอมในน้ำ (aquatic biomes) ประเภทของไบโอม ไบโอมบนบก (terrestrial biomes) 2. ไบโอมในน้ำ (aquatic biomes) 14 5 2554
1. ไบโอมบนบก ใช้เกณฑ์ปริมาณน้ำฝนและอุณหภูมิเป็นตัวกำหนด 1.1 ป่าดิบชื้น 1.2 ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น 1.3 ป่าสน 1.4 ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น 1.5 สะวันนา 1.6 ทะเลทราย 1.7 ทุนดรา 14 5 2554
ไบโอมบนบก (terrestrial biomes) 14 5 2554
ป่าดิบชื้น tropical rain forest 14 5 2554
ป่าดิบชื้น tropical rain forest เป็นป่าใกล้เส้นศูนย์สูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง ทวีป อเมริกาใต้ ทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชียตอนใต้ หมู่เกาะแปซิฟิก ภูมิอากาศร้อนและชื้น มีฝนตกตลอดปี ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 200-400 cm./ปี มีความอุดมสมบูรณ์สูงมาก พืช - สัตว์นับพันสปีชีส์ พืชเด่น : ไม้เถา หวาย เฟิร์น กล้วยไม้ ตัวอย่างในไทย ป่าฮาลา – บาลา นราธิวาส 14 5 2554
ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น (temperate deciduous forest) 14 5 2554
ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น (temperate deciduous forest) เป็นป่าในเขตละติจูดกลาง มีอากาศค่อนข้างเย็น ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 100 cm./ปี ต้นไม้มีการผลัดใบ พืชเด่น : ยูคาลิปตัส เมเปิล โอ๊ก ตัวอย่างในไทย ทุ่งแสลงหลวง พิษณุโลก 14 5 2554
ป่าสน (coniferous forest) ป่าไทกา (Taiga) และป่าบอเรียล (Boreal) มีต้นไม้เขียว ชอุ่มตลอดปี พบที่ตอนใต้แคนาดา ตอนเหนือทวีป อเมริกาเหนือ ทวีปเอเชีย และทวีปยุโรป เขตละติจูด 45 – 67 องศาเหนือ ภูมิอากาศมีฤดูหนาวยาวนาน อากาศเย็นและแห้ง พืชเด่น : สน เช่น ไพน์ (pine) เฟอ (fir) สพรูซ (spruce) เฮมลอค (hemlock) บลูเบอรี ตัวอย่างในไทย ภูสอยดาว อุตรดิตถ์ 14 5 2554
ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (temperate grassland) 14 5 2554
ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (temperate grassland) ทุ่งหญ้าแพรี่ (prairie) ทวีปอเมริกาเหนือ ทุ่งหญ้าสเตปป์ (steppes) รัสเซีย ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 25 – 50 cm./ปี เหมาะทำกสิกรรม และ ปศุสัตว์ พืชเด่น : ทานตะวัน ไอริส ดอกไม้ป่ารานันคูลัส หญ้า 14 5 2554
สะวันนา (savanna) 14 5 2554
สะวันนา (savanna) เป็นทุ่งหญ้าในทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกาใต้ ทวีป ออสเตรเลีย ตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ภูมิอากาศร้อน มักมีไฟป่า พืชเด่น : หญ้าต่างๆ ตัวอย่างในไทย ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร ตาก 14 5 2554
ทะเลทราย (desert) 14 5 2554
ทะเลทราย (desert) พื้นที่ที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยน้อยกว่า 25 cm./ปี ทะเลทรายซาฮารา (Sahara) ในทวีปแอฟริกา ทะเลทรายโกบี (Gobi) ในจีน ทะเลทรายโมฮาวี (Mojave) ในรัฐแคริฟอร์เนีย U.S.A พืชเด่น : กระบองเพชร อินทผาลัม 14 5 2554
ทุนดรา (tundra) 14 5 2554
2.1 แหล่งน้ำจืด 2.2 แหล่งน้ำเค็ม 2. ไบโอมในน้ำ 2.1 แหล่งน้ำจืด 2.2 แหล่งน้ำเค็ม 14 5 2554
ไบโอมในน้ำ (aquatic biomes) 14 5 2554
แหล่งน้ำจืด (freshwater biomes) 14 5 2554
แหล่งน้ำจืด (freshwater biomes) มีเกลือน้อยกว่าร้อยละ 0.1 หรือน้อยกว่า 1 ppt ประกอบด้วย แหล่งน้ำนิ่ง : สระ หนอง บึง ทะเลสาบ แบ่งออกเป็น 3 บริเวณ : ชายฝั่ง (littoral zone) ผิวน้ำ (limnetic zone) และน้ำชั้นล่าง (profundal zone) แหล่งน้ำไหล : ธารน้ำไหล แม่น้ำ แบ่งออกเป็น 2 บริเวณ (Zone) : น้ำไหลเชี่ยว (rapid zone) และแอ่งน้ำ (pool zone) 14 5 2554
แหล่งน้ำเค็ม (marine biomes) 14 5 2554
แหล่งน้ำเค็ม (marine biomes) มีปริมาณมากถึงร้อยละ 71 ของพื้นที่ผิวโลก ( 3 ใน 4 ส่วน) มีความลึกเฉลี่ย 3,750 เมตร มีเกลือเฉลี่ยร้อยละ 3.5 หรือ 35 ppt ประกอบด้วย ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทร 14 5 2554