การนำการจัดการความรู้ (Knowledge Management) มาใช้ในงานห้องสมุดคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
Advertisements

ข้อปฏิบัติสำหรับกรรมการ ตรวจกระดาษคำตอบ ก่อนตรวจ ตรวจสอบหน้าที่ ตามวันและเวลา ของการตรวจ กระดาษ คำตอบ 2. ให้เฉพาะผู้ที่มี หน้าที่เท่านั้นตรวจ กระดาษคำตอบ.
การคืนครุภัณฑ์.
พี่ๆน้องๆทุกท่าน แจ้งเพื่อทราบและปฏิบัติค่ะ
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การยืมหนังสือด้วยตัวเอง (Self-Checkout)
พัชราภรณ์ ปันแก้ว นันทา เติมสมบัติถาวร มินตรา ไชยชนะ
Checker คุณภาพทำได้อย่างไร
การศึกษารายกรณี.
ประสบการณ์จากงานบริการสารสนเทศ: ประโยชน์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
ชื่อกลุ่ม กลุ่ม 10 ดวงใจแห่งความสำเร็จ
โครงการพัฒนาคุณภาพงานด้วยแนวคิด Lean
ตัวชี้วัดโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
การประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรม
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
บรรยายพิเศษ นโยบายและทิศทางการพัฒนามุม มสธ. ในห้องสมุดประชาชน กศน.
SET CORNER : 5th Oct SET CORNER : 5th Oct 2005.
KM งานบริการยืม – คืน ครั้งที่ 1
การทัศนศึกษาดูงานห้องสมุด ณ ประเทศฮ่องกง
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
การให้บริการยืม-คืนหนังสือ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสัมมนา
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
Patron Info Application
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
เครื่องยืมหนังสืออัตโนมัติด้วยตนเอง Self Check
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
Information Technology Project Management
หมวดที่ 5 การวัดผลและการประเมิน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
(Transaction Processing Systems)
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
โรงเรียนหนองจอกกงลิบฮัวเคียว
นำเสนอโดย นายวันชัย แซ่ลิ่ม ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ.
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า บริการคืนตู้ล่วงเวลา
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในงานศูนย์สนเทศภาคเหนือ
ชุมชนคนใกล้ หมอ นำเสนอ ในงาน KM DAY 28 สิงหาคม 2008.
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า บริการคืนตู้ล่วงเวลา
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)
..เทคโนโลยีการใช้RFIDกับงานในห้องสมุด
หลักการแก้ปัญหา
สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
ค้นเจอหนังสือที่ต้องการ ใน library catalog
ฝ่ายประกัน คุณภาพ (Quality Assurance Department).
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การเป็นเจ้าของธุรกิจ  ไม่เซ๊กซี่ เหมือนที่คิด  คนที่จะเป็นได้ต้อง มีความหลงไหลในโครงการที่ทำ กระหาย ที่จะเป็นเจ้าของธุรกิจ ชอบคิดใหม่ ทำใหม่ มีปัญญา.
การทำบัตรสมาชิกห้องสมุด
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
Request copy. วิธีการจองหนังสือ การจองหนังสือผ่านระบบ Library Catalog (HIP) สามารถ จองได้เฉพาะหนังสือที่มี Location เป็นของห้องสมุดที่ผู้ใช้ กำลังใช้หน้าจอการสืบค้นอยู่
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ขอบเขตของการพัฒนา ทรัพยากรสารสนเทศ การเลือกทรัพยากรสารสนเทศ การประเมินคุณค่าทรัพยากร สารสนเทศ การศึกษาปริมาณของ ทรัพยากรสารสนเทศ การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ.
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
การจัดการองค์ความรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนำการจัดการความรู้ (Knowledge Management) มาใช้ในงานห้องสมุดคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

แนวคิดในการนำการจัดการความรู้ (KM) มาใช้ในงานห้องสมุดคณะเกษตรศาสตร์ 1. เพื่อแก้ปัญหาภายในงาน 2. เพื่อพัฒนางาน และนำไปสู่การหา Best Practice ของห้องสมุด ปัญหาที่กระทบต่อผู้ใช้บริการมากที่สุดคือ การหาหนังสือบนชั้นไม่พบ

1. เพื่อแก้ปัญหาภายในงาน สาเหตุของปัญหามี 2 สาเหตุ สาเหตุที่ 1 เกิดจากตัวเจ้าหน้าที่ขึ้นชั้นหนังสือไม่ถูกต้อง สาเหตุที่ 2 เกิดจากผู้ใช้บริการ - หาหนังสือไม่เป็น - หยิบหนังสือออกมาจากชั้น แล้วนำกลับเข้าชั้น ไม่ถูกที่

เป้าหมาย คือ หนังสือบนชั้น จะได้รับการจัดเรียงไว้อย่างถูกต้อง 100% 1. เพื่อแก้ปัญหาภายในงาน การนำวิธีการของการจัดการความรู้ (KM) มาใช้เป็นแนวทาง มีดังนี้ กำหนดวิสัยทัศน์ หรือ KV คือ “การจัดชั้นหนังสืออย่างมีประสิทธิภาพ” เป้าหมาย คือ หนังสือบนชั้น จะได้รับการจัดเรียงไว้อย่างถูกต้อง 100%

วิธีแก้ปัญหาการหาหนังสือบนชั้นไม่พบ จากสาเหตุที่ 1 ที่เกิดจากผู้ปฏิบัติงาน ดำเนินการโดย - สับเปลี่ยนหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน - ปรับวิธีการขึ้นชั้นหนังสือ จากสาเหตุที่ 2 ที่เกิดจากผู้ใช้บริการ ดำเนินการโดย - จัดทำป้ายโปสเตอร์แนะนำวิธีการค้นหาหนังสือ ติดไว้ที่ตู้วางหนังสือ - จัดทำป้ายประกาศห้ามไม่ให้ผู้ใช้บริการเก็บหนังสือ ใส่คืนชั้นเอง ให้วางไว้ที่ข้างตู้หรือที่โต๊ะวางหนังสือ ใช้แล้ว

ป้ายประกาศติดข้างตู้และชั้นหนังสือ

ป้ายโปสเตอร์แนะนำวิธีการค้นหาหนังสือติดไว้ที่ตู้วางหนังสือ

ป้ายประกาศติดที่ชั้นหนังสือ

ป้ายประกาศห้ามไม่ให้ผู้ใช้บริการเก็บหนังสือใส่คืนชั้นเอง ให้วางไว้ที่ข้างตู้หรือที่โต๊ะวางหนังสือใช้แล้ว

แบบสำรวจ ความสำเร็จของการหาหนังสือบนชั้น (1) แบบฟอร์มด้านหน้า

แบบสำรวจ ความสำเร็จของการหาหนังสือบนชั้น (2) แบบฟอร์มด้านหลัง

2. เพื่อพัฒนางานและนำไปสู่การหา Best Practice ของห้องสมุด จากการทดลองปฏิบัติงานขั้นชั้นหนังสือ ทั้ง 2 รูปแบบ คือ 1. การสับเปลี่ยนหน้าที่กันระหว่างเจ้าหน้าที่ขึ้นชั้นหนังสือ กับเจ้าหน้าที่ให้บริการยืม – คืนหนังสือ 2. การให้นักศึกษาช่วยงานห้องสมุดขึ้นชั้นหนังสือในช่วงบ่าย ของทุกวัน และเช้าวันรุ่งขึ้นให้เจ้าหน้าที่ห้องสมุดเป็นผู้อ่านชั้น และตรวจสอบความถูกต้องของหนังสือ หลังจากนั้นบรรณารักษ์ จะเป็นผู้เข้าไปตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง และมีการบันทึก ผลการตรวจสอบทุกครั้ง พร้อมกับนำผลมาแจ้งให้เจ้าหน้าที่ ขึ้นชั้นทราบ เพื่อจะได้หาทางแก้ไขข้อผิดพลาดต่อไป

เมื่อเปรียบเทียบวิธีการปฏิบัติงานทั้ง 2 แล้ว จะเห็นว่าวิธีการที่ 2 เป็นวิธีการที่เหมาะสมกับการขึ้นชั้นหนังสือ ของห้องสมุดคณะเกษตรศาสตร์ มากกว่าวิธีที่ 1 แต่อาจจะไม่ใช่วิธีที่ดีที่สุด หรือเป็น Best Practice ซึ่งห้องสมุดคณะเกษตรศาสตร์ คงต้องหาวิธีการอื่นที่ดีกว่านี้ต่อไป

จบการนำเสนอ