บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

ประชุมบุคลากรประจำปีการศึกษา 2551
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
การประกันคุณภาพการศึกษา
ผศ.ดร. วนาวัลย์ ดาตี้ ผู้ช่วยอธิการบดี
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
รายงานผลทางวาจา การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน มหาวิทยาลัยพายัพ วันที่ 5-7 กันยายน 2551.
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
2 มิถุนายน อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
การตรวจสอบและประเมินระบบการ ประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ กรกฎาคม 2550 โดยคณะกรรมการตรวจสอบและ ประเมินระบบ การประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน.
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การศึกษาภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
การศึกษาภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สรุป การสัมมนา “การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี 2555”
หลัก สูตร คณะ สถาบั น 2 บัณฑิต 3 นักศึกษา 4 อาจารย์องค์ประกอบ 5 หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมินผู้เรียน 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1 การผลิตบัณฑิต 2.
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
Nanotechnology Cluster ภาคใต้ 1 โครงการพัฒนา นักวิจัยไทย ด้านวิทยาศาสตร์ เคมี และเภสัช ภาคใต้ ระยะที่ 2 แผน 5 ปี ( )
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary รายงานประจำปีการประกันคุณภาพ พ.ศ. 2545 สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

บทนำ รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ พ.ศ. 2545 ของสถาบันฯ ได้จัดทำขึ้น เพื่อแสดงถึงสัมฤทธิ์ผลในการดำเนินงานและใช้เป็นเอกสารข้อมูลสำหรับการตรวจสอบระบบประกันคุณภาพภายใน จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยได้จัดทำตามรูปแบบที่ทบวงมหาวิทยาลัยและสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) กำหนด ข้อมูลในรายงานประจำปีดังกล่าวเป็นข้อมูลในช่วงเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคม 2544 - กันยายน 2545 สำหรับข้อมูลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้คุณภาพ (Key Quality Indicators : KQI) ได้แสดงข้อมูลในช่วง 3 ปี ย้อนหลัง ตั้งแต่ พ.ศ. 2543 - 2545

เนื้อหาสาระโดยสรุป ประกอบด้วยเนื้อหา 4 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 สภาพปัจจุบันของสถาบัน ส่วนที่ 2 องค์ประกอบคุณภาพและผลการดำเนินงานตามองค์ประกอบ คุณภาพ ส่วนที่ 3 สรุปผลการประเมินตนเอง และข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนา สถาบันฯ ส่วนที่ 4 ภาคผนวก

ส่วนที่ 1 สภาพปัจจุบันของสถาบัน บุคลากร มีบุคลากรเป็นข้าราชการสาย ข ค พนักงานมหาวิทยาลัย ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราวชาวต่างประเทศ และลูกจ้างชั่วคราวโครงการวิจัย รวมทั้งสิ้น 75 คน งบประมาณ ได้รับจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน จำนวนเงิน 17,529,700 บาท ได้รับจัดสรรงบประมาณเงินรายได้ จำนวนเงิน 550,200 บาท ได้รับจัดสรรงบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก จำนวนเงิน 13,055,700 บาท หน่วยวิจัยเครือข่าย มีหน่วยวิจัยเครือข่าย 38 หน่วย ภายใต้ศูนย์วิจัย 11 ศูนย์ หน่วยบริการเทคโนโลยี 2 หน่วย

ส่วนที่ 1 สภาพปัจจุบันของสถาบัน (ต่อ) การบริหารโครงการ โครงการวิจัยที่ดำเนินการและบริหารผ่านสถาบันฯ 38 โครงการ โครงการความร่วมมือกับองค์กรในและต่างประเทศที่มีการลงนามในข้อตกลงความร่วมมือ 3 โครงการ

ส่วนที่ 2 องค์ประกอบคุณภาพและ ผลการดำเนินงานตามองค์ประกอบคุณภาพ ส่วนที่ 2 องค์ประกอบคุณภาพและ ผลการดำเนินงานตามองค์ประกอบคุณภาพ องค์ประกอบคุณภาพประกอบด้วย 7 ด้าน ดังนี้ ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์ นโยบาย กลยุทธ์และแผน การบริการการวิจัย การบริการวิชาการแก่ชุมชน การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การบริหารและจัดการ การเงินและงบประมาณ ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

ส่วนที่ 2 องค์ประกอบคุณภาพและ ผลการดำเนินงานตามองค์ประกอบคุณภาพ (ต่อ) ส่วนที่ 2 องค์ประกอบคุณภาพและ ผลการดำเนินงานตามองค์ประกอบคุณภาพ (ต่อ) องค์ประกอบที่ 1 ความสำคัญ 5 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์ นโยบาย กลยุทธ์และแผน 1.1 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์ (1) 1.2 นโยบายและกลยุทธ์ (2) 1.3 แผนการดำเนินการตามแผน และการประเมินแผน (2) องค์ประกอบที่ 2 ความสำคัญ 40 การบริการการวิจัย 2.1 ทรัพยากรบุคคล (10) 2.2 ปัจจัยเกื้อหนุน (15) 2.3 กระบวนการปฏิบัติงาน (15)

ส่วนที่ 2 องค์ประกอบคุณภาพและ ผลการดำเนินงานตามองค์ประกอบคุณภาพ (ต่อ) ส่วนที่ 2 องค์ประกอบคุณภาพและ ผลการดำเนินงานตามองค์ประกอบคุณภาพ (ต่อ) องค์ประกอบที่ 3 ความสำคัญ 30 การบริการวิชาการแก่ชุมชน 3.1 ทรัพยากรบุคคลด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน (10) 3.2 ปัจจัยเกื้อหนุนการบริการวิชาการแก่ชุมชน (10) 3.3 กระบวนการบริการวิชาการแก่ชุมชน (10) องค์ประกอบที่ 4 ความสำคัญ 5 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 4.1 ทรัพยากรบุคคลด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (1) 4.2 ปัจจัยเกื้อหนุนการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (2) 4.3 กระบวนการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (2)

ส่วนที่ 2 องค์ประกอบคุณภาพและ ผลการดำเนินงานตามองค์ประกอบคุณภาพ (ต่อ) ส่วนที่ 2 องค์ประกอบคุณภาพและ ผลการดำเนินงานตามองค์ประกอบคุณภาพ (ต่อ) องค์ประกอบที่ 5 ความสำคัญ 10 การบริหารและจัดการ 5.1 ผู้บริหาร (2) 5.2 บุคลากรสนับสนุนการบริหารและจัดการ (3) 5.3 ปัจจัยเกื้อหนุน (2) 5.4 กระบวนการบริหารและจัดการ (3) องค์ประกอบที่ 6 ความสำคัญ 5 การเงินและงบประมาณ 6.1 กระบวนการบริหารการเงินและงบประมาณ (5)

ส่วนที่ 2 องค์ประกอบคุณภาพและ ผลการดำเนินงานตามองค์ประกอบคุณภาพ (ต่อ) ส่วนที่ 2 องค์ประกอบคุณภาพและ ผลการดำเนินงานตามองค์ประกอบคุณภาพ (ต่อ) องค์ประกอบที่ 7 ความสำคัญ 5 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 7.1 ทรัพยากรบุคคลด้านการประกันคุณภาพ (1) 7.2 ปัจจัยเกื้อหนุนการประกันคุณภาพ (1) 7.3 กระบวนการประกันคุณภาพ (3)

ผลการประเมินตนเองตามระดับการพัฒนาคุณภาพ รายการตรวจสอบ (Audit Checklist) ผลการตรวจสอบ มี ไม่มี ระดับการพัฒนา (0-8) ความสำคัญ คะแนน องค์ประกอบที่ 1: ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์ นโยบาย กลยุทธ์ และแผน 5 1.1 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์ / 1 6 0.8 1.2 นโยบายและกลยุทธ์ / 2 6 1.6 1.3 แผน การดำเนินการตามแผน และการประเมินแผน / 2 4 1.2 องค์ประกอบที่ 2: การบริการการวิจัย 40 2.1 ทรัพยากรบุคคล / 10 6 8 2.2 ปัจจัยเกื้อหนุน / 15 5 10.5 2.3 กระบวนการปฏิบัติงาน / 15 6 12 องค์ประกอบที่ 3: การบริการวิชาการ 30 3.1 ทรัพยากรบุคคลด้านการบริการวิชาการ แก่ชุมชน / 10 6 8 3.2 ปัจจัยเกื้อหนุนการบริการวิชาการแก่ชุมชน / 10 5 7 3.3 กระบวนการบริการวิชาการแก่ชุมชน / 10 6 8

ผลการประเมินตนเองตามระดับการพัฒนาคุณภาพ (ต่อ) รายการตรวจสอบ (Audit Checklist) ผลการตรวจสอบ มี ไม่มี ระดับการพัฒนา (0-8) ความสำคัญ คะแนน องค์ประกอบที่ 4: การทำนุบำรุงศิลป วัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 5 4.1 ทรัพยากรบุคคลด้านการทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม / 1 5 0.7 4.2 ปัจจัยเกื้อหนุนการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม / 2 5 1.4 4.3 กระบวนการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม / 2 5 1.4 องค์ประกอบที่ 5: การบริหารและจัดการ 10 5.1 ผู้บริหาร / 2 6 1.6 5.2 บุคลากรสนับสนุนการบริหารและจัดการ / 3 6 2.4 5.3 ปัจจัยเกื้อหนุน / 2 5 1.4 5.4 กระบวนการบริหารและจัดการ / 3 6 2.4

ผลการประเมินตนเองตามระดับการพัฒนาคุณภาพ (ต่อ) รายการตรวจสอบ (Audit Checklist) ผลการตรวจสอบ มี ไม่มี ระดับการพัฒนา (0-8) ความสำคัญ คะแนน องค์ประกอบที่ 6: การเงินและ งบประมาณ 5 6.1 กระบวนการบริหารการเงินและงบประมาณ / 5 6 4 องค์ประกอบที่ 7: ระบบและกลไก การประกันคุณภาพ 5 7.1 ทรัพยากรบุคคลด้านการประกันคุณภาพ / 1 6 0.8 7.2 ปัจจัยเกื้อหนุนการประกันคุณภาพ / 1 5 0.7 7.3 กระบวนการประกันคุณภาพ / 3 6 2.4 คะแนนรวม 76.3 100

ส่วนที่ 3 สรุปผลการประเมินตนเอง และข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาสถาบันฯ ส่วนที่ 3 สรุปผลการประเมินตนเอง และข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาสถาบันฯ เป็นส่วนที่แสดงผลการดำเนินงานและผลการประเมินตนเอง โดยนำเสนอรูปแบบทั้งการบรรยาย การวิเคราะห์ และการประเมิน เพื่อสรุปเป็นภาพรวมของผลการดำเนินงานประกันคุณภาพของสถาบันฯ จากการตรวจประเมินตนเองโดยคณะกรรมการประกันคุณภาพของสถาบันฯ โดยพิจารณาจากรายการตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้อง และระดับการพัฒนาคุณภาพตามองค์ประกอบทั้ง 7 ด้าน ที่เกี่ยวข้องกับสถาบันฯ และจากรายการแสดงตัวบ่งชี้คุณภาพ (KQI) สามารถสรุปผลการประเมินตนเองได้ดังนี้

ส่วนที่ 3 สรุปผลการประเมินตนเอง และข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาสถาบันฯ (ต่อ) องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์ นโยบาย กลยุทธ์ และแผน จากการตรวจประเมินทุกรายการตรวจสอบมีเอกสารหลักฐานประกอบครบถ้วน โดยมีระดับการพัฒนาเป็น 6, 6, 4 สำหรับรายการตรวจสอบที่ 1.1, 1.2 และ 1.3 ตามลำดับ โดยรายการตรวจสอบที่ 1.3 นั้นถึงแม้จะมีการจัดทำ PDCA ไว้บ้างก็ตามแต่การประเมินผลยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ควรจะดำเนินการพัฒนาปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้นต่อไป

ส่วนที่ 3 สรุปผลการประเมินตนเอง และข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาสถาบันฯ (ต่อ) องค์ประกอบที่ 2 การบริการการวิจัย เป็นองค์ประกอบสำคัญที่ถูกกำหนดให้เป็นภารกิจหลักของสถาบันฯ มีค่าน้ำหนักความสำคัญเท่ากับ 40 จากการตรวจประเมินพบว่า ทุกรายการตรวจสอบมีเอกสารหลักฐานประกอบชัดเจน มีการจัดทำ PDCA ไว้อย่างครบถ้วนเกือบสมบูรณ์จนถึงสมบูรณ์ แต่ยังมีการพัฒนาให้ดีเพิ่มขึ้นได้ไม่มากนักเมื่อเปรียบเทียบกับผลงานที่ผ่านมาโดยวิเคราะห์จากตัวบ่งชี้คุณภาพ (KQI) ที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น ระดับการพัฒนาที่ได้รับจึงเป็น 6, 5, 6 สำหรับรายการตรวจสอบที่ 2.1, 2.2 และ 2.3 ตามลำดับ ซึ่งจัดอยู่ในเกณฑ์ดี

ส่วนที่ 3 สรุปผลการประเมินตนเอง และข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาสถาบันฯ (ต่อ) องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการแก่ชุมชน เป็นองค์ประกอบที่มีความสำคัญตามภารกิจหลักของสถาบันฯ ในระดับรองลงมาจากองค์ประกอบที่ 2 โดยได้กำหนดค่าน้ำหนักความสำคัญขององค์ประกอบนี้ไว้เท่ากับ 30 และจากการตรวจประเมินตามรายการตรวจสอบ โดยพิจารณาจากเอกสารหลักฐานประกอบ ความครบถ้วนสมบูรณ์ของการจัดทำ PDCA และจากรายงานแสดงพัฒนาการจากตัวบ่งชี้คุณภาพ (KQI) ที่เกี่ยวข้อง พบว่าระดับการพัฒนาสำหรับองค์ประกอบนี้ควรเป็น 6, 5, 6 สำหรับรายการตรวจสอบที่ 3.1, 3.2 และ 3.3 ตามลำดับโดยจัดอยู่ในเกณฑ์ดี

ส่วนที่ 3 สรุปผลการประเมินตนเอง และข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาสถาบันฯ (ต่อ) องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จากการประเมินตามรายการตรวจสอบทั้ง 3 รายการ พบว่ามีเอกสารหลักฐานประกอบ การจัดทำแผน การดำเนินการตามแผน การประเมินการดำเนินงาน และมีการปรับปรุงแผนตามวงจร PDCA โดยหลักฐานแสดงครบถ้วนเป็นส่วนใหญ่ และจากการตรวจสอบจากตัวบ่งชี้คุณภาพ (KQI) ที่เกี่ยวข้อง พบว่าองค์ประกอบนี้ยังต้องมีการพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป ทั้งนี้เพราะระดับการพัฒนาที่ได้รับคือ 5 สำหรับทุกรายการตรวจสอบในองค์ประกอบนี้

ส่วนที่ 3 สรุปผลการประเมินตนเอง และข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาสถาบันฯ (ต่อ) องค์ประกอบที่ 5 การบริหารและจัดการ จากการประเมินตามรายการตรวจสอบคุณภาพโดยอาศัยเกณฑ์เช่นเดียวกันกับองค์ประกอบอื่นๆ พบว่าโดยส่วนใหญ่มีระดับการพัฒนาที่ดี (ระดับ 6) ยกเว้นในส่วนปัจจัยเกื้อหนุน (รายการตรวจสอบที่ 5.3) ซึ่งมีระดับการพัฒนาที่ 5 เท่านั้น ซึ่งอาจเนื่องจากความจำกัดในบางระดับของปัจจัยเกื้อหนุนที่ต้องมีการพัฒนาให้เพิ่มพูนสมบูรณ์มากขึ้นอีกในอนาคต ดังเช่น ระบบฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจและการวางแผนของผู้บริหาร ระบบงบประมาณและการบริหารจัดการต่างๆ เป็นต้น

ส่วนที่ 3 สรุปผลการประเมินตนเอง และข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาสถาบันฯ (ต่อ) องค์ประกอบที่ 6 การเงินและงบประมาณ จากการตรวจประเมินพบว่าในรายการตรวจสอบมีเอกสารหลักฐานประกอบครบถ้วนสมบูรณ์มีการกำหนดแผน ดำเนินการตาม แผนที่กำหนด มีการประเมินผลการดำเนินงานและการปรับปรุงแผนครบถ้วนตามวงจร PDCA และจากการตรวจสอบตามตัวบ่งชี้คุณภาพ (KQI) ที่เกี่ยวข้องพบว่ามีการพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น ดังนั้นระดับของการพัฒนาที่ได้รับสำหรับองค์ประกอบนี้คือ 6

ส่วนที่ 3 สรุปผลการประเมินตนเอง และข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาสถาบันฯ (ต่อ) องค์ประกอบที่ 7 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ จากการประเมินตามรายการตรวจสอบคุณภาพในองค์ประกอบนี้ โดยส่วนใหญ่มีการดำเนินการจัดทำ PDCA อย่างครบถ้วน มีเอกสารหลักฐานแสดงชัดเจนและสมบูรณ์ และตัวบ่งชี้คุณภาพ (KQI) ที่เกี่ยวข้องก็แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการที่ดีขึ้น ดังนั้นระดับการพัฒนาสำหรับรายการตรวจสอบในองค์ประกอบนี้จึงอยู่ในระดับดี (ระดับ 6) เป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นปัจจัยเกื้อหนุนการประกันคุณภาพ (รายการตรวจสอบที่ 7.2) ซึ่งได้รับค่าระดับการพัฒนาที่ระดับ 5 ซึ่งจำเป็นต้องปรับปรุงพัฒนาในส่วนนี้ ต่อไป

ส่วนที่ 3 สรุปผลการประเมินตนเอง และข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาสถาบันฯ (ต่อ) จากการกำหนดค่าน้ำหนักความสำคัญในรายการตรวจสอบตามองค์ประกอบทั้ง 7 ด้านขึ้นมา และจากการตรวจประเมินเพื่อกำหนดระดับการพัฒนาในแต่ละรายการตรวจสอบดังกล่าว โดยอาศัยเกณฑ์ตัวคูณของระดับการพัฒนา ซึ่งได้ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อการประชุมครั้งที่ 4/2545 วันที่ 3 ตุลาคม 2545 ทำให้สามารถคำนวณเป็นคะแนนที่ได้รับ (%) ในแต่ละรายการตรวจสอบได้ และเมื่อนำค่าคะแนนที่ได้รับในแต่ละรายการตรวจสอบขององค์ประกอบทั้ง 7 ด้าน มารวมเข้าด้วยกัน ปรากฏว่าผลคะแนนจากการประเมินตนเองของสถาบันฯ โดยรวมคิดเป็นร้อยละ 76.3 ซึ่งผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ดี

ส่วนที่ 4 ภาคผนวก ส่วนภาคผนวก ประกอบด้วยข้อมูลและเอกสารเพิ่มเติมที่ใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบคุณภาพ และเพื่อให้รายงานประจำปีฯ ฉบับนี้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยนำเสนอข้อมูลดังนี้ (สำหรับรายละเอียดของข้อมูลทั้งหมดสามารถดูได้จากรายงานประจำปีการประเมินคุณภาพฉบับสมบูรณ์) รายการเอกสารประกอบ รายชื่อผู้บริหาร กิจกรรมและผลดำเนินงานบริหารจัดการ กิจกรรมและผลดำเนินงานบริการวิชาการแก่ชุมชน กิจกรรมและผลดำเนินงานหน่วยวิจัยเครือข่ายและหน่วยบริการเทคโนโลยี

ส่วนที่ 4 ภาคผนวก (ต่อ) รายการเอกสารประกอบ ส่วนที่ 4 ภาคผนวก (ต่อ) รายการเอกสารประกอบ เป็นรายการเอกสารที่ใช้เป็นหลักฐานประกอบในการตรวจสอบ คุณภาพ ตามรายการดำเนินงานองค์ประกอบคุณภาพทั้ง 7 ด้าน ซึ่งได้จัดเป็นแฟ้มแยกแต่ละองค์ประกอบและเป็นหมวดหมู่อย่างชัดเจนสามารถตรวจสอบและสืบค้นได้โดยสะดวกและรวดเร็ว องค์ประกอบที่ 1 มีเอกสาร 13 รายการ องค์ประกอบที่ 2 มีเอกสาร 40 รายการ องค์ประกอบที่ 3 มีเอกสาร 14 รายการ องค์ประกอบที่ 4 มีเอกสาร 8 รายการ องค์ประกอบที่ 5 มีเอกสาร 24 รายการ องค์ประกอบที่ 6 มีเอกสาร 9 รายการ องค์ประกอบที่ 7 มีเอกสาร 12 รายการ ทั้งนี้ ในแต่ละรายการยังประกอบด้วยรายการเอกสารย่อยในส่วนที่เกี่ยวข้องอีกด้วย

ส่วนที่ 4 ภาคผนวก (ต่อ) รายชื่อผู้บริหาร คณะกรรมการ คณะทำงานและหน่วยประกันคุณภาพ กิจกรรมและผลดำเนินงานบริหารจัดการ ประกอบไปด้วยข้อมูลและผลดำเนินงานในด้าน บุคลากร งบประมาณ การพัฒนาบุคลากร การประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผลงานวิจัย การประกันคุณภาพ การบริหารโครงการ ข้อมูลโครงการวิจัยที่ดำเนินการผ่านสถาบันฯ ข้อมูลโครงการความร่วมมือ ซึ่งนำเสนอในรูปของทั้งการบรรยาย ตาราง สถิติ และกราฟ

ส่วนที่ 4 ภาคผนวก (ต่อ) กิจกรรมและผลดำเนินงานบริการวิชาการแก่ชุมชน ส่วนที่ 4 ภาคผนวก (ต่อ) กิจกรรมและผลดำเนินงานบริการวิชาการแก่ชุมชน เป็นข้อมูลผลการดำเนินการให้บริการวิชาการแก่ชุมชน ซึ่งมีทั้งการจัดอบรม/สัมมนา/ประชุมเชิงปฏิบัติการ บรรยายพิเศษ โครงการและโครงการบริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน กิจกรรมและผลดำเนินงานหน่วยวิจัยเครือข่ายและหน่วยบริการเทคโนโลยี เป็นข้อมูลผลการดำเนินงานวิจัยหรือกิจกรรมพิเศษที่เด่น การให้บริการวิชาการ ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ รวมทั้งรางวัลผลงานวิจัยของหน่วยวิจัยเครือข่ายและหน่วยบริการเทคโนโลยี

ขอบคุณ