กลุ่มที่ 6 ที่ปรึกษา: คุณปิย์วรา ตั้งน้อย ประธาน: คุณธวัลรัตน์ แดงหาญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
KM AAR.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
BRAND “ กรมควบคุมโรค ” สรุปการประชุมปฏิบัติการจัดทำสัญญนิยม 19 เมษายน 2550 ณ จังหวัดเชียงใหม่ ประชุมกรมควบคุมโรค 15 พฤษภาคม 2550.
ร้อยละความสำเร็จของการนำองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์การไปสู่การปฏิบัติ
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มที่ 1.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การจัดการความรู้ กลุ่มที่ 5.
การสร้างและพัฒนา เครือข่ายองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น เพื่อผลักดัน นโยบายการป้องกัน ควบคุมโรคในพื้นที่ รับผิดชอบของ สำนักงาน ป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ขอต้อนรับเข้าสู่การนำเสนอ ของกลุ่ม 2 ซึ่งประกอบไปด้วย หน่วยงานดังนี้ 1. สำนักงานป้องกัน ควบคุมโรคที่ 1 2. สำนักเผยแพร่และ ประชาสัมพันธ์ 3. สำนักโรคไม่ติดต่อ.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 6 ที่ปรึกษา: คุณปิย์วรา ตั้งน้อย ประธาน: คุณธวัลรัตน์ แดงหาญ ที่ปรึกษา: คุณปิย์วรา ตั้งน้อย ประธาน: คุณธวัลรัตน์ แดงหาญ สมาชิก: สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 ขอนแก่น สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 นครสวรรค์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่

กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ค้นหาสิ่งดี ๆ ของสมาชิก กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ค้นหาสิ่งดี ๆ ของสมาชิก

สมาชิกเสนอหัวข้อ KV 1. แนวทางการประยุกต์ใช้ KM ในองค์กรเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย 2. การทำ KM อย่างมีความสุข 3. การพัฒนานโยบายป้องกัน ควบคุมโรคสู่อปท. 4. การพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะสม สำหรับการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการป้องกันควบคุมโรค 5. ระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพมาตรฐาน 6. การพัฒนาศักยภาพ อปท.ให้มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค 7. การพัฒนามาตรฐานป้องกันควบคุมโรคของ CUP 8. การพัฒนาเครือข่ายการป้องกันควบคุมโรคที่ได้มาตรฐาน 9. การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มวัยรุ่น

KV: การทำ KM อย่างมีความสุข ความสุข คือ ความสำเร็จ อยากทำ ได้รางวัล ไม่เป็นภาระงาน ได้เพื่อนร่วมงาน

Story Telling

Dialogue KV: การทำ KM อย่างมีความสุข

ตารางแห่งอิสรภาพ ปัจจัยและองค์ประกอบ 1 2 3 4 5 1. จำนวนสมาชิกใน CoP ระดับ 5 จำนวนสมาชิกเพิ่มขึ้น ระดับ 4 จำนวนสมาชิกเท่าเดิม ระดับ 3 จำนวนสมาชิกลดลง < 20% ระดับ 2 จำนวนสมาชิกลดลง < 50% ระดับ 1 จำนวนสมาชิกลดลง > 50% องค์ประกอบที่ 2: จำนวนครั้งของ Knowledge Sharing ระดับ 5 100% ตามแผนที่ตั้งไว้ ระดับ 4 80 - 99% ตามแผนที่ตั้งไว้ ระดับ 3 60-79% ตามแผนที่ตั้งไว้ ระดับ 2 40-59-% ตามแผนที่ตั้งไว้ ระดับ 1 < 40% ตามแผนที่ตั้งไว้ ปัจจัยและองค์ประกอบ 1 2 3 4 5 1. จำนวนสมาชิกใน CoP 2. จำนวนครั้งของ Knowledge Sharing 3. ความพึงพอใจ 4. จำนวนครั้งของการนำไปใช้

ช่องว่าง (Gap) ระหว่างระดับที่เป็นเป้าหมายกับระดับปัจจุบัน ปัจจัย

ขั้นบันได GAP ผู้ให้ ผู้รับ ปัจจัยที่1: จำนวนสมาชิกใน CoP 5   ผู้ให้ 4 เขต 5 3 เขต 6 เขต 7 ผู้รับ 2 เขต 10 1 เขต 8 ความหวัง-ความจริง=ความต้องการเรียนรู้ คะแนนความจริง

การจัดการให้เกิดการจัดเก็บองค์ความรู้ กลุ่มกิจกรรม กิจกรรมการจัดการความรู้ การวัดผล ระบุ K. Need วิเคราะห์จากทิศทาง/ยุทธศาสตร์องค์กร ได้ K. Need ครอบคลุมตามยุทธศาสตร์ K. Mapping สำรวจความรู้ (ที่มีอยู่/ที่ต้องการ/ที่ควรมีเพิ่ม) จากผลวิเคราะห์ Competencies ผู้เชี่ยวชาญ เอกสาร/คู่มือ/ตำรา/CD File electronic ทราบความรู้ที่มีอยู่และส่วนที่ขาด สามารถจัดหมวดหมู่ได้

กิจกรรมการจัดการความรู้ กลุ่มกิจกรรม กิจกรรมการจัดการความรู้ การวัดผล กำหนดรูปแบบ ประชุมผู้เกี่ยวข้อง เพื่อหารูปแบบหมวดหมู่การเก็บ ตั้งกรรมการจัด/กลั่นกรองความรู้ที่จัดเก็บ กำหนดเงื่อนไข/หลักเกณฑ์ในการจัดเก็บ จัดเก็บในคอมพิวเตอร์ แยกตามโฟลเดอร์ (จัดหมวดหมู่) ศึกษาดูงานหน่วยงาน/องค์กรที่มีระบบการจัดเก็บข้อมูลดี ได้รูปแบบ ได้หลักเกณฑ์การจัดเก็บ มีกำหนดหน้าที่ผู้กลั่นกรอง

กิจกรรมการจัดการความรู้ กลุ่มกิจกรรม กิจกรรมการจัดการความรู้ การวัดผล สร้างระบบการจัดเก็บ มีฐานความรู้จาก P.S.O.เดิม (รวมทุกโรค) มีระบบการกลั่นกรองก่อนนำเข้าจัดเก็บ ประกวดวิธีการจัดเก็บ AAR ทบทวนเป็นระยะ จำนวนฐานข้อมูล รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลที่เป็นมาตรฐาน

กิจกรรมการจัดการความรู้ กลุ่มกิจกรรม กิจกรรมการจัดการความรู้ การวัดผล ระบบการเข้าถึง พัฒนา Software เดิม มี link เชื่อมโยงจาก home page (หาง่าย) จัดทำทำเนียบความรู้/ผู้เชี่ยวชาญ ประชาสัมพันธ์ ระยะเวลาที่สามารถเข้าถึง ค้นหาข้อมูลได้ตามมาตรฐาน จำนวนช่องทางที่เข้าถึง ความพึงพอใจ ได้ทำทำเนียบความรู้ สร้างเครือข่าย ไปกรมฯ จำนวนเครือข่ายที่สามารถเชื่อมโยง

สวัสดี