กลุ่มที่ 6 ที่ปรึกษา: คุณปิย์วรา ตั้งน้อย ประธาน: คุณธวัลรัตน์ แดงหาญ ที่ปรึกษา: คุณปิย์วรา ตั้งน้อย ประธาน: คุณธวัลรัตน์ แดงหาญ สมาชิก: สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 ขอนแก่น สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 นครสวรรค์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ค้นหาสิ่งดี ๆ ของสมาชิก กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ค้นหาสิ่งดี ๆ ของสมาชิก
สมาชิกเสนอหัวข้อ KV 1. แนวทางการประยุกต์ใช้ KM ในองค์กรเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย 2. การทำ KM อย่างมีความสุข 3. การพัฒนานโยบายป้องกัน ควบคุมโรคสู่อปท. 4. การพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะสม สำหรับการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการป้องกันควบคุมโรค 5. ระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพมาตรฐาน 6. การพัฒนาศักยภาพ อปท.ให้มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค 7. การพัฒนามาตรฐานป้องกันควบคุมโรคของ CUP 8. การพัฒนาเครือข่ายการป้องกันควบคุมโรคที่ได้มาตรฐาน 9. การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มวัยรุ่น
KV: การทำ KM อย่างมีความสุข ความสุข คือ ความสำเร็จ อยากทำ ได้รางวัล ไม่เป็นภาระงาน ได้เพื่อนร่วมงาน
Story Telling
Dialogue KV: การทำ KM อย่างมีความสุข
ตารางแห่งอิสรภาพ ปัจจัยและองค์ประกอบ 1 2 3 4 5 1. จำนวนสมาชิกใน CoP ระดับ 5 จำนวนสมาชิกเพิ่มขึ้น ระดับ 4 จำนวนสมาชิกเท่าเดิม ระดับ 3 จำนวนสมาชิกลดลง < 20% ระดับ 2 จำนวนสมาชิกลดลง < 50% ระดับ 1 จำนวนสมาชิกลดลง > 50% องค์ประกอบที่ 2: จำนวนครั้งของ Knowledge Sharing ระดับ 5 100% ตามแผนที่ตั้งไว้ ระดับ 4 80 - 99% ตามแผนที่ตั้งไว้ ระดับ 3 60-79% ตามแผนที่ตั้งไว้ ระดับ 2 40-59-% ตามแผนที่ตั้งไว้ ระดับ 1 < 40% ตามแผนที่ตั้งไว้ ปัจจัยและองค์ประกอบ 1 2 3 4 5 1. จำนวนสมาชิกใน CoP 2. จำนวนครั้งของ Knowledge Sharing 3. ความพึงพอใจ 4. จำนวนครั้งของการนำไปใช้
ช่องว่าง (Gap) ระหว่างระดับที่เป็นเป้าหมายกับระดับปัจจุบัน ปัจจัย
ขั้นบันได GAP ผู้ให้ ผู้รับ ปัจจัยที่1: จำนวนสมาชิกใน CoP 5 ผู้ให้ 4 เขต 5 3 เขต 6 เขต 7 ผู้รับ 2 เขต 10 1 เขต 8 ความหวัง-ความจริง=ความต้องการเรียนรู้ คะแนนความจริง
การจัดการให้เกิดการจัดเก็บองค์ความรู้ กลุ่มกิจกรรม กิจกรรมการจัดการความรู้ การวัดผล ระบุ K. Need วิเคราะห์จากทิศทาง/ยุทธศาสตร์องค์กร ได้ K. Need ครอบคลุมตามยุทธศาสตร์ K. Mapping สำรวจความรู้ (ที่มีอยู่/ที่ต้องการ/ที่ควรมีเพิ่ม) จากผลวิเคราะห์ Competencies ผู้เชี่ยวชาญ เอกสาร/คู่มือ/ตำรา/CD File electronic ทราบความรู้ที่มีอยู่และส่วนที่ขาด สามารถจัดหมวดหมู่ได้
กิจกรรมการจัดการความรู้ กลุ่มกิจกรรม กิจกรรมการจัดการความรู้ การวัดผล กำหนดรูปแบบ ประชุมผู้เกี่ยวข้อง เพื่อหารูปแบบหมวดหมู่การเก็บ ตั้งกรรมการจัด/กลั่นกรองความรู้ที่จัดเก็บ กำหนดเงื่อนไข/หลักเกณฑ์ในการจัดเก็บ จัดเก็บในคอมพิวเตอร์ แยกตามโฟลเดอร์ (จัดหมวดหมู่) ศึกษาดูงานหน่วยงาน/องค์กรที่มีระบบการจัดเก็บข้อมูลดี ได้รูปแบบ ได้หลักเกณฑ์การจัดเก็บ มีกำหนดหน้าที่ผู้กลั่นกรอง
กิจกรรมการจัดการความรู้ กลุ่มกิจกรรม กิจกรรมการจัดการความรู้ การวัดผล สร้างระบบการจัดเก็บ มีฐานความรู้จาก P.S.O.เดิม (รวมทุกโรค) มีระบบการกลั่นกรองก่อนนำเข้าจัดเก็บ ประกวดวิธีการจัดเก็บ AAR ทบทวนเป็นระยะ จำนวนฐานข้อมูล รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลที่เป็นมาตรฐาน
กิจกรรมการจัดการความรู้ กลุ่มกิจกรรม กิจกรรมการจัดการความรู้ การวัดผล ระบบการเข้าถึง พัฒนา Software เดิม มี link เชื่อมโยงจาก home page (หาง่าย) จัดทำทำเนียบความรู้/ผู้เชี่ยวชาญ ประชาสัมพันธ์ ระยะเวลาที่สามารถเข้าถึง ค้นหาข้อมูลได้ตามมาตรฐาน จำนวนช่องทางที่เข้าถึง ความพึงพอใจ ได้ทำทำเนียบความรู้ สร้างเครือข่าย ไปกรมฯ จำนวนเครือข่ายที่สามารถเชื่อมโยง
สวัสดี