นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การติดตามประเมินผล ปี 2552
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556 นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค การประชุมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอดเป้าหมายการลดโรค สู่ การปฏิบัติด้วยยุทธศาสตร์กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ณ โรงแรมปริ๊นซ์พาเลซ มหานาค กรุงเทพฯ วันที่ 12-13 กรกฎาคม 2555

พื้นที่ควบคุมโรคเข้มแข็งและยั่งยืน หลักการและแนวคิด พื้นที่ควบคุมโรคเข้มแข็งและยั่งยืน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ตำบลควบคุมโรคเข้มแข็ง ประเทศควบคุมโรค เข้มแข็ง คุณลักษณะที่สะท้อนความเข้มแข็งและยั่งยืน ความร่วมมือจากภาคี ระบบงานระบาดวิทยา มีแผน&ผลงานควบคุมโรคที่เป็นปัญหา การระดมทรัพยากรมาดำเนินการ จังหวัดควบคุมโรคเข้มแข็ง ลดโรคและภัยสุขภาพ บทบาทกรมควบคุมโรค ประสาน สนับสนุน กระตุ้น ชี้ปัญหา สร้างแรงจูงใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประชาชนได้รับการปกป้องจาก โรคและภัยสุขภาพ

ปัจจุบัน อนาคต ไม่เป็นระบบ?? กรม คร. มุ่งเน้น “อำเภอ” เป็นพื้นที่เป้าหมายเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ รวมถึงการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ แบบมีส่วนร่วม ให้เกิดประสิทธิผลต่อสุขภาพของ ประชาชนในพื้นที่ ทันสถานการณ์ ปัจจุบัน อนาคต ....... 1. มีคณะกรรมการ 1. มีคณะกรรมการ 2.มีระบบระบาดฯ 3.มีการวางแผน 2.มีระบบระบาดฯ 5.มีผลงาน 4.มีการระดมทุนฯ 3.มีการวางแผน ....... ....... 4.มีการระดมทุนฯ 5.มีผลงาน ไม่เป็นระบบ??

นิยาม “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ์ วัดจากคุณลักษณะ 5 ด้าน ในปี 2555 ได้ผลักดันให้จังหวัดเลือกเป็นตัวชี้วัดคำรับรองปฏิบัติราชการของจังหวัด พร้อมทั้งได้สร้างกลไก และตัวชี้วัด เพื่อขับเคลื่อนจังหวัดให้มีการบริหารจัดการที่เอื้อให้เกิดอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน 4

องค์ประกอบสำคัญ บ่งชี้ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” 1. มีคณะกรรมการฯ : ภาคส่วนที่สำคัญมีส่วนร่วม เช่น อปท. สาธารณสุข อสม. 2. มีระบบระบาดวิทยาที่ดี : ข้อมูล ทันสถานการณ์ 3. มีการวางแผนฯ : แนวทางแก้ไข ตามปัญหาพื้นที่ 4. มีการระดมทุน 5. มีผลสำเร็จของการควบคุม ป้องกันโรคและภัยสุขภาพ : แก้ไขปัญหาพื้นที่ทันการณ์ SRRT ตำบล ที่มา: คู่มือประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2555 (ดาวน์โหลดจาก www.kmddc.go.th)

ภาคีเครือข่ายสำคัญ ที่ทำให้เกิด “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ภาคีเครือข่ายสำคัญ ที่ทำให้เกิด “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” มท. จังหวัด สธ. ประชาชนในอำเภอ ได้รับการปกป้อง จากโรค และภัยสุขภาพ อำเภอ กรมควบคุมโรค

ด้าน สื่อสาร ประชา สัมพันธ์ กลไก ความก้าวหน้า และแนวทางการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปรับปรุงจากจุดเน้นกรมฯ 5 ส.ค.2555 ปี 57-60 ปี 2556 ปี 55 ปี 54 ปี 53 ปี 55 1. กระทรวงฯ ประกาศเป็นนนโยบาย 16 กย.53 อิมแพ็ค เมืองทองฯ 2. MOU : ปลัดกระทรวง ฯอธิบดีกรม คร. นายก อบต.แห่งประเทศไทย สนับสนุนงบประมาณ SRRT ทุกตำบล (6.9 ลบ.) ตัวชี้วัด“ผู้ว่าฯ” “ผู้ตรวจ คณะที่ 3” “คำรับรองกรม/หน่วยงาน” เชิดชู ให้รางวัล ศึกษาดูงานภายใน/ต่างประเทศ (ส.ค.-กย. 54) ตัวชี้วัดคำรับรองฯ”จังหวัด”และ “กสธ.” “กรม/หน่วยงาน” 2. MOU: มท.กับ สธ. (กรมการปกครอง/กรมส่งเสริมส่วนท้องถิ่น) ชมรม อสม. สื่อมวลชน 3. สนับสนุนงบประมาณเพื่ออบรมทีม SRRT ครอบคลุมทุกคน (7.15 ลบ.) 4. เชิดชู ให้รางวัล :ศึกษาดูงานภายใน/ต่างประเทศ (ก.ย.-พ.ย.55) ตัวชี้วัดคำรับรองฯ”จังหวัด”และ “กสธ.” “กรม/หน่วยงาน” และ “อปท.” 2. ขับเคลื่อนการดำเนินงานร่วมกับเครือข่าย: แผนแม่บทสนับสนุนการพัฒนาอำเภอฯ (ปี 56-60) 3. เชิดชู ให้รางวัล :ศึกษาดูงานภายใน/ต่างประเทศ 4. *ขยายความร่วมมือเครือข่ายเพื่อสร้างระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค ครบวงจร ด้านนโยบาย ปรับจากมติที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ครั้งที่ 1/2555 วันที่ 23 มค. 2555 กรมควบคุมโรค 1. ระดมความคิดเครือข่ายหลัก : สสจ. (ผชชว./กลุ่ม คร./ระบาด) อำเภอ (รพช./สสอ.) ตำบล (รพสต./สอ.) สื่อมวลชน 2. พัฒนาเกณฑ์คุณลักษณะ แนวทางการประเมินฯ/ คู่มือ หลักสูตร SRRT ตำบล (ครู ก) ให้ สคร/สสจ/ สสอ. สสจ./สคร. อบรม SRRT ตำบล 4,666 แห่ง (ม.ค. – ก.พ.54) จาก 9,751 แห่ง 3. สนับสนุน ชุดความรู้ คู่มือเกณฑ์คุณลักษณะฯปี 54 และระบบการประเมินตนเองอิเลคทรอนิคส์ พัฒนาศักยภาพเครือข่าย SRRT ตำบลทุกคนครอบคลุมทั้งประเทศ หลักสูตรระบาดวิทยาและการบริหารจัดการให้แพทย์หัวหน้าทีมและผู้สอบสวนหลัก ปรับปรุงเกณฑ์/วิธีประเมินคุณลักษณะฯ ปี55 (เชิงคุณภาพ)/ระบบการประเมินตนเองอิเลคทรอนิคส์ พัฒนาหลักสูตรระบาดวิทยาภาคสนาม เครือข่าย SRRT ตำบล/ e-learning ปรับปรุงเกณฑ์และวิธีประเมินคุณลักษณะฯ ปี 56/ ระบบประเมินตนเองอิเลคทรอนิคส์ พัฒนาชุดวิชาป้องกันควบคุมโรคระดับพื้นที่ ประกอบหลักสูตรการอบรมของเครือข่าย เช่น นักปกครอง อปท. ฯลฯ 4. *พัฒนารูปแบบระบบการประเมินรับรอง (PH accreditation) ด้าน วิชาการ 1. สัมมนา 4 ภาค เครือข่ายสธ. (สสจ./สสอ./รพช.) (กพ.- มีค.) 2. ประชุมจังหวัด/ ผู้ตรวจเขตฯ/ เอกสารเผยแพร่ 3. สนับสนุน ติดตาม นิเทศ สะท้อนผลงาน สัมมนา 4 ภาค เครือข่ายมหาดไทย (มี.ค.-เม.ย.55) สัมมนาเครือข่าย สธ.เพื่อขับเคลื่อนงาน (ผชชว./สสจ/กลุ่ม คร./กลุ่ม พนย.) จัดทำสื่อต้นแบบ/บูธประชาสัมพันธ์/สื่ออิเลคทรอนิคส์ สัมมนา 4 ภาค เครือข่ายมหาดไทย/ อปท. สัมมนาเครือข่ายเพื่อขับเคลื่อน/ปรับปรุงงาน สธ. (ผชชว./สสจ/กลุ่ม คร./กลุ่ม พนย.) /สื่อมวลชน จัดทำสื่อต้นแบบ/สร้างภาพลักษณ์/พัฒนาช่องทางสื่อสาร เช่นสื่อพื้นบ้าน สื่ออิเลคทรอนิคส์ สื่อสาร ประชุมชี้แจงแนวทางการประเมินผลฯ ติดตาม สะท้อนผลงาน ด้าน สื่อสาร ประชา สัมพันธ์

ได้รับการปกป้องจากโรค ขอบคุณทุกท่าน ที่ร่วมเสริมสร้างให้เกิด “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” สู่เป้าหมาย ประชาชนในอำเภอ ได้รับการปกป้องจากโรค และภัยสุขภาพ