เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ช่วยลูกเตรียมพร้อม... พ.ญ.นัทธ์ชนัน จรัสจรุงเกียรติ
Advertisements

เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
โดย อาจารย์วารุณี ถีระแก้ว โรงเรียนวัดไร่ขิง จังหวัดนครปฐม
และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
วงจรการประยุกต์ความรู้
ลักษณะของครูที่ดี.
การลดความวิตกกังวล.
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
สังคหวัตถุ 4 สังคหวัตถุ หมายถึง ข้อปฏิบัติที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของบุคคลหรือหลักธรรมที่เป็นเครื่องประสานสร้างสรรค์สามัคคีให้เกิดในหมู่สมาชิกชาวพุทธ.
พลเมืองเรื่องดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
บุญ.
นโยบายการบริหารจัดการ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
ความสำคัญของจิตสาธารณะ
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
๐๑-คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับผู้บริหาร
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
คุณธรรม ***** สภาพคุณงามความดี
โครงการศึกษาอบรมและสัมมนา หลักสูตรปลัดอำเภอบรรจุใหม่
การเรียนรู้ ตามรอยพระยุคลบาท.
โครงการคนเมืองเพชรทำความดีถวายพ่อหลวง
KM ประจำเดือนตุลาคม 2550 สวัสดีค่ะ...พบกับข้อมูลข่าวสาร KM ของกองการเจ้าหน้าที่ ได้ที่นี่กันเป็นประจำ นะคะ ... และสำหรับการต้อนรับปีงบประมาณใหม่ ปี 2551.
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
หน้าที่ ของผู้จัดและผู้ให้การศึกษานั้น กล่าว อย่างสั้นที่สุดก็คือการให้คนได้เรียนดี เพื่อที่จะ สามารถทำการงานสร้างตัวและดำรงตัวให้เป็นหลัก เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้
จรรยาบรรณครู จรรยาบรรณข้อที่ 1 ครูต้องรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือส่งเสริมให้ กำลังใจใน การศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า จรรยาบรรณข้อที่
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
Download ใน หรือ
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
วันอาสาฬหบูชา.
ไม่มีมิตรในหมู่นักการเมือง เป็นเรื่องจริงหรือเปล่าคะ
วันเข้าพรรษา ปี 2552 ตรงกับวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ.2552.
สมรรถนะการทำงาน ดร. จักรพงศ์ สุวรรณรัศมี.
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
การใช้อำนาจและอิทธิพล
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
เทคนิคและวิธีการ ปฏิบัติงาน. การวางแผน การปฏิบัติงาน การวางแผน การปฏิบัติงาน ศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหาและ สถานการณ์ กำหนดยุทธศาสตร์ และแผนการ ปฏิบัติงาน.
คัดย่อจากจากผลงานธรรมนิพนธ์เรื่องต่างๆ
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
บทอ่านจากจดหมายนักบุญเปาโลถึงชาวโครินทร์ฉบับที่ 1
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
งาน กำหนดกรอบ บรรยาย เคลื่อนไ หว อาชี พ ชีวิต เป็ น อยู่ ปรากฏความ เปลี่ยนแปลง เป็น ครู ข้าราชการครู พนักงา นรัฐ สอ น แนะ นำ เสนอ แนวคิด กำกับงานของ Stu-
นี่หรือคือ การส่งท้าย ปีใหม่เรา ปัญหา ที่มีอยู่ รู้ว่าหนัก พ่อหลวง ควรได้พัก ไม่รู้หรือ ที่มันเกิด เพียงเพราะเงิน หนึ่งหยิบมือ หรือกระดาษ พวกนี้คือ ชีวิตคุณ.
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
จุดเน้นวิชาประวัติศาสตร์
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
ความเป็นครู.
นางสุพัณณรัฎฐ์ ประชานิยม วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
การประกวดแข่งขันผลงานวิจัย และนวัตกรรมสื่อสารสอนทางอาชีวศึกษา
จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
มงคล 38 ประการ พระพุทธเจ้าต้องการสอนให้ประชาชนรู้ ว่าปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะเป็นมงคลแก่ตัวเอง แบ่งเป็น - สำหรับเยาวชน 10 ประการ - สำหรับคนวัยทำงาน 18.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ Download ใน www.metteyya.info

จิตสำนึกในความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

ประเทศไทยเป็นอิสระ เป็นไทอยู่ได้เพราะ สีน้ำเงิน : กษัตริย์ สีขาว : ศาสน์ สีแดง: ชาติ

ความสำคัญของ 3 สถาบันหลักของชาติ สถาบันชาติ คือ ความเป็นประเทศ มีอาณาเขต มีอิสระ มีการปกครองตนเองไม่ขึ้นอยู่กับประเทศใด สถาบันชาติ เป็นสถาบันชาติอยู่ได้เพราะ บรรพบุรุษของไทยแต่โบราณได้เสียสละเลือดเนื้อรักษาแผ่นดินไว้ ให้คนรุ่นหลัง ชาวบ้านบางระจัน พระเนรศวรมหาราช พระเจ้าตากสินมหาราช ราชวงศ์จักรี

สถาบันศาสนา คริสต์ อิสลาม ซิกข์ พุทธ ทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีของสังคม ทุกศาสนาเป็นที่พึ่งทางใจยามทุกข์กายทุกข์ใจ ทุกศาสนาสอนคนในชาติให้มีความเมตตา ไม่เบียดเบียนกัน คริสต์ อิสลาม ซิกข์ พุทธ

กษัตริย์องค์เดียวของโลกที่ทรงงานเพื่อประชาชน นักวางแผนพัฒนาประเทศ สถาบันกษัตริย์ กษัตริย์องค์เดียวของโลกที่ทรงงานเพื่อประชาชน นักวางแผนพัฒนาประเทศ ช่วยเหลือผู้ประสบทุกข์ยาก โครงการพระราชดำริเพื่อพัฒนาประเทศ ในหลวงทรงอุปถัมถ์ทุกศาสนา ในหลวงทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจชาวไทย แม้มีวิกฤติการเมืองมากมาย ในหลวงจะทรงเตือนสติชาวไทย

เยาวชนจะตอบแทนบุญคุณสถาบัน ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ อย่างไร? เยาวชนจะตอบแทนบุญคุณสถาบัน ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ อย่างไร?

ตอบแทนบุญคุณชาติ ขยันเรียน  ความรู้ทำให้เยาวชนเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติ รู้รักสามัคคี  อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขทั้งในห้องเรียน ในครอบครัว ในสังคมไทย เป็นหูเป็นตาให้ประเทศหากพบสิ่งผิดปรกติให้รีบแจ้งผู้ปกครอง ครูหรือผู้ใหญ่ที่เกี่ยวข้อง เช่น พบเห็นการซื้อขายยาเสพติดในโรงเรียน รีบแจ้งคุณครู

การตอบแทนบุญคุณพระศาสนา บูชาพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ ด้วยการปฏิบัติบูชา คือ รักษาศีล การให้ทาน และการเจริญสติภาวนา ศีล ภาวนา ทาน ทานคือ “การให้” สละความเห็นแก่ตัว 1.ให้วัตถุทาน เช่น การตักบาตร การถวายสังฆทาน การให้ขนมเพื่อน 2.การให้อภัยทาน เช่น การยกโทษผู้ที่ทำให้เราเดือดร้อน 3.การให้ธรรมทาน เช่น การบอกวิธีการทำความดีให้ ผู้อื่นทราบ ศีล คือ “ความสำรวมกาย วาจา ให้สงบ ไม่เบียดเบียนใคร” เยาวชนรักษาศีล 5 เป็นอย่างน้อย 1.ไม่ฆ่าสัตว์ 2.ไม่ลักทรัพย์ 3.ไม่ประพฤติผิดในกาม [ เช่น ไปมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร] 4.ไม่พูดโกหก 5.ไม่ดื่มสุราและไม่เสพสิ่งเสพติด หากมีโอกาส ถือ ศีลที่สูงขึ้น เช่น ศีล 8 หรือเมื่อบวชสามเณร ถือ ศีล 10 การภาวนาคือ “การทำให้จิตบริสุทธิ์ ปราศจากกิเลส[โลภ โกรธ หลง]” ทำได้ด้วยวิธีการ เจริญสติระลึกรู้กายและจิตบ่อยๆ จนรู้ความจริงว่า ทุกสิ่งทุกอย่างไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นสิ่งที่ไม่มีตัวตน ไม่มีของเรา ของเขา จนปล่อยวางทุกสิ่งทุกอย่าง จิตเป็นอิสระ ไม่มีความทุกข์ในจิตใจ

การตอบแทนบุญคุณพระมหากษัตริย์ ระลึกถึงบุญคุณพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ที่ทรงกอบกู้อิสรภาพและปกครองประเทศไทยด้วยความสงบ ร่มเย็น ทำตามพระบรมราโชวาทที่พระองค์ทรงสั่งสอนพวกเราชาวไทย

พระบรมราโชวาทสำหรับเยาวชน “นักเรียนที่ยังก่อเรื่องวิวาท จนเกิดความเสียหายแก่ตน แก่โรงเรียน ขอให้สำนึกว่าการกระทำเช่นนั้น อาจกลายเป็นการทำลายอนาคตของตนไปได้อย่างคิดไม่ถึง ฉะนั้น ขอให้พยายามฝึกฝนอบรมตนเองให้มีค่า เป็นคนเต็มคน ให้เป็นคนดีมีประโยชน์ให้ จงได้” [พระราชดำรัสในพิธีเปิดงานกรีฑา ศิลปหัตถกรรม ปี 2512] "...เด็ก ต้องทำตัวให้สุภาพอ่อนโยน หมั่นขยันเอา การเอางานเอื้อเฟื้อช่วยเหลือผู้อื่น ด้วยความเต็มใจอยู่เสมอ ให้ติดเป็นนิสัย จักได้เติบโตขึ้นเป็นคนดีมี ประโยชน์และมีความเจริญมั่นคงในชีวิต.." [พระบรมราโชวาท พระราชทานเนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2529] "...เยาวชนทั้งหลายที่อยู่ในวัยเรียน ย่อมมีความมุ่งมั่นที่จะ ศึกษาวิชาการต่างๆ ให้ได้มากๆ เพื่อนำไปใช้ทำ ประโยชน์สร้างสมความสุขความเจริญ ให้แก่ตัวเองตลอดจนส่วนรวม แต่การใช้วิชาความรู้นั้นจำเป็น จะต้องใช้อย่างถูกต้องด้วยคุณธรรมและความสามารถ ที่เหมาะจึงจะได้ผลเต็มเปี่ยม...“ [พระบรมราโชวาทวันคล้ายวันสถาปนาลูกเสือแห่งชาติ ปี2522] "...เด็ก เป็นผู้ที่จะได้รับช่วงทุกสิ่งทุกอย่างต่อจากผู้ใหญ่ ดังนั้น เด็กทุกคนจึงสมควรและจำเป็น ที่จะต้องได้รับ การอบรมเลี้ยงดูอย่าง ถูกต้องเหมาะสมให้มีศรัทธามั่นคงใน คุณความดี มีความประพฤติเรียบร้อยสุจริต และมีปัญญา ฉลาดแจ่มใสในเหตุผล..." พระราชดำรัส พระราชทานในโอกาสปีเด็กสากล 1 มกราคม 2522 "...เด็กๆ นอกจากจะต้องเรียนความรู้แล้ว ยังต้องหัดทำ การงานและทำความดีด้วย เพราะการทำงานจะช่วยให้ มีความสามารถมีความขยันอดทนพึ่งตนเองได้และ การทำดีนั้นจะช่วยให้มีความสุขความเจริญทั้งป้องกันตนไว้ไม่ให้ ตกต่ำ..." [พระบรมราโชวาท พระราชทานเนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2530] "...เด็กๆ ต้องฝึกหัดอบรมทั้งกายทั้งใจให้เข้มแข็งเป็นระเบียบ และสุจริตเพื่อประโยชน์ของตนในภายหน้า เพราะคนที่ไม่ เข้มแข็งไม่สามารถควบคุมกายใจให้อยู่ระเบียบและความดี ยากนัก ที่จะได้ประสบความสำเร็จและความเจริญอย่างแท้จริงในชีวิต...“ พระบรมราโชวาท พระราชทานเนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ปี 2526