จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
Advertisements

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
สรุปโครงการสร้างสัมพันธ์รักครอบครัว
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
แผนกลยุกต์การจัดการศึกษาเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1.
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
ชื่อตัวบ่งชี้ 3.3 : มีการนำความรู้และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการและ วิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการ สอนและการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน คณะฯ ยังขาดการรวบรวม.
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
วิสัยทัศน์ “ เป็นองค์กรที่พัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
พลตรี นพดล พิศวง รองผอ.รมน.สระบุรี
การประชุมกลุ่มย่อย Agriculture Sector. ประเด็นเพื่อระดมสมอง 1. หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง กับการนำ GHS ไปปฏิบัติ กรมวิชาการเกษตร กรมประมง กรมปศุสัตว์
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
กลุ่ม ๓ ชื่อ กลุ่ม....สามซ่าๆๆ.
กลุ่มที่ 1.
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ภารกิจถ่ายโอน บริการข้อมูลและเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการ ผลิต การตลาด เทคโนโลยี
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
คณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ระดับจังหวัด/อำเภอ
กลุ่ม ก้าวไกลกับไอทีที่ ศบกต.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
(พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว)
วิเคราะห์จุดอ่อน – จุดแข็ง และแนวทางแก้ไขปัญหาของงานข้อมูลสารสนเทศ ในความสัมพันธ์ระดับต่าง ๆ ของหน่วยงาน กลุ่มที่ ๔ กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ.
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
ระบบส่งเสริมการเกษตร
Knowledge Management องค์ความรู้เรื่อง “ การส่งเสริมงานวิสาหกิจชุมชนของสำนักงาน เกษตรอำเภอเมืองราชบุรี ” ความสำคัญ ถอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมงาน.
สถานการณ์การดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบึงหลุมบัว
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลและ อำเภอทุ่ง ช้าง จังหวัดน่าน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย จิตร เสียงกอง เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาสและอุปสรรค ของศูนย์บริการถ่ายทอดเทคโนโลยี ที่ได้จากการระดมความคิด

จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ คณะกรรมการศูนย์ฯ ไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง เกษตรตำบล ๑ คน รับผิดชอบหลายศูนย์ฯ และทำงานหลายบทบาท ทำให้ดูแลได้ไม่ทั่วถึง หน่วยงานอื่นไม่เห็นความสำคัญ

จุดแข็ง คณะกรรมการมาจากหลากหลายอาชีพ แต่ละคนมีศักยภาพ สามารถจัดทำโครงการและได้รับงบประมาณจากหลายแห่ง แผนพัฒนาการเกษตร แผนวิสาหกิจชุมชน เป็นขบวนการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม PAP ในการจัดทำแผน เจ้าหน้าที่เข้มแข็ง คณะกรรมการเข้มแข็ง คณะกรรมการศูนย์ฯ มีการจัดตั้งเครือข่ายระดับอำเภอ คณะกรรมการศูนย์ฯ บางแห่งมีการแบ่งงานและหน้าที่รับผิดชอบชัดเจน

โอกาส โครงสร้างประชากรไทยร้อยละ ๘๐ เป็นเกษตรกร คณะกรรมการศูนย์ฯ เป็นผู้ประสานงานในการรับเงินช่วยเหลือจากรัฐบาลให้แก่เกษตรกร เมื่อเกิดภัยธรรมชาติ การได้ใส่เสื้อของศูนย์ฯ ทำให้เกิดความภาคภูมิใจ และสร้างเอกภาพ คณะกรรมการศูนย์ฯ นักวิชาการ นักส่งเสริมและตัวแทนชุมชนมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ และร่วมจัดทำแผนพัฒนาชุมชน ทำให้เกิดการทำงานแบบมีส่วนร่วม ที่ตั้งศูนย์ฯ อยู่ที่ อบต.

โอกาส นายกอบต. เป็นคณะกรรมการศูนย์ฯ ซึ่งเป็นผู้มีความสำคัญในการอนุมัติงบประมาณ มีแผนพัฒนาเกษตรระดับตำบลที่เชื่อถือได้ พ.ร.บ. วิสาหกิจชุมชน เป็นส่วนสำคัญในการนำศูนย์ให้ไปถึงที่หมายได้

อุปสรรค นโยบายรัฐขาดความชัดเจน มีการเปลี่ยนแปลงเกษตรตำบลบ่อย ทำให้ทำงานไม่ต่อเนื่อง